Page 15 - ศึกษาการใช้อัตราที่เหมาะสมของน้ำหมักชีวภาพเพื่อการเพิ่มผลผลิตของยางพาราบนชุดดินระนองในจังหวัดชุมพร
P. 15

6





                           5.2 การใช้ปุ๋ย
                               1) ปุ๋ยในแปลงต้นกล้ายางพารา หากเป็นดินร่วนควรใส่หินฟอสเฟต  อัตรา 150 กิโลกรัม

                    ต่อไร่ หากเป็นดินทรายใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยอินทรีย์รองพื้นไร่ละ 1 ตัน เมื่อกล้ายางอายุ 1-3 เดือนควรติด

                    ตา และใช้ปุ๋ย 11-6-4 ส าหรับดินร่วน และปุ๋ย 13-9-4 ส าหรับดินทราย อัตรา 60 กิโลกรัมต่อไร่เดือนละ
                    ครั้งจนกระทั่งติดตาส าหรับการใส่ปุ๋ยกล้ายาง  อายุ 1-2 เดือน ควรหว่านเป็นแถวกว้างประมาณ 5

                    เซนติเมตร ห่างจากแถวยางด้านในด้านหนึ่งเล็กน้อย แต่เมื่ออายุ 3 เดือนและก่อนติดตา 1 เดือน ควรห่าง
                    เป็นแถบสม่ าเสมอรอบต้น (สุรัตน์ และคณะ, 2535)

                               2) ปุ๋ยในแปลงกิ่งตา การใช้ปุ๋ยบ ารุงแปลงกิ่งตาจะช่วยให้การติดตามีผลส าเร็จมากขึ้น และ

                    ได้กิ่งตาที่สมบูรณ์ในปริมาณมาก ส าหรับดินร่วนควรใช้ปุ๋ยสูตร 11-6-4 ส่วนดินทรายใช้ปุ๋ยสูตร 10-5-9
                    อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ เดือนละครั้งจนกระทั่งน าไปติดตา (ยงยุทธ และคณะ, 2551)

                               3) ปุ๋ยหลังจากติดตา หลังจากติดตาและตัดยอดต้นเดิมแล้วควรใส่ปุ๋ยเพื่อบ ารุงต้นกิ่งตา
                    ตามชนิดและอัตราปุ๋ยที่แสดงไว้ในตาราง (ยงยุทธ และคณะ, 2551)

                               4) ปุ๋ยยางก่อนเปิดกรีด เตรียมก้นหลุมปลูกด้วยหินฟอสเฟตอัตรา 170 กรัม และปุ๋ยหมัก

                    อัตรา 1 กิโลกรัมต่อต้น (ยงยุทธ และคณะ, 2551)
                               5) ปุ๋ยหลังเปิดกรีด ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินและใบ ตามตาราง (ยงยุทธ และคณะ, 2551)

                               6) พืชคลุมดิน ก่อนปลูกพืชคลุมดินน าหินฟอสเฟต เมล็ดพันธุ์พืชคลุมดิน และปุ๋ยเคมีมา

                    คลุกในอัตรา 1:1:5 และน าไปหว่าน จากนั้นเมื่อพืชคลุมดินอายุ 2 เดือนใส่หินฟอสเฟตอีกครั้งอัตรา 15
                    กิโลกรัมต่อไร่ และเมื่ออายุ 5 และ 9 เดือนใส่ปุ๋ยอีกครั้ง อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่  ในปีต่อไปใส่หิน

                    ฟอสเฟสอัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ (สุรัตน์ และคณะ, 2535)


                    6. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา

                           สภาพแวดล้อมต่างๆ เป็นปัจจัยส าคัญที่เกี่ยวข้องโดยตรงต่อการเจริญเติบโตของต้นยาง  การ
                    พิจารณาเพื่อปลูกสร้างสวนยาง  จึงต้องค านึงถึงสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องและเหมาะสม ดังนี้



                           6.1 สภาพพื้นที่และภูมิอากาศ
                           พื้นที่ที่เหมาะสมส าหรับการปลูกยางพาราควรสูงจากระดับน้ าทะเลไมเกิน  200  เมตร ซึ่ง

                    ยางพาราจะเจริญเติบโตเป็นปกติ คือ สามารถกรีดยางไดเมื่ออายุประมาณ 6 ปเมื่อความสูงเพิ่มขึ้นทุกๆ
                    100 เมตรจะท าให้ต้นยางเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ 6 เดือน แต่ใน ปัจจุบันพบว่าสามารถปลูกยางไดจนถึง

                    ระดับความสูงจากระดับน้ าทะเลไมเกนิ 600 เมตร และควรเป็นพื้นที่ราบหรือมีความลาดเทเล็กน้อยไม่

                    ควรเกิน 35 องศา การปลูกยางในพนที่ที่มีความลาดเทสูงขึ้นจะเกดการชะล้างผิวหน้าดินสูงจนอาจเกด
                    แผ่นดินถล่มได้ง่ายหากมีปริมาณฝนตกหนักมาก ติดต่อกันหลายวัน อุณหภูมิที่เหมาะสมส าหรับการปลูก

                    ยางพาราเฉลี่ยตลอดปี  28  องศาเซลเซียส  และไมควรปลกยางในแหล่งที่มีอุณหภูมิต่ ากว่า  15  องศา
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20