Page 18 - ศึกษาการใช้อัตราที่เหมาะสมของน้ำหมักชีวภาพเพื่อการเพิ่มผลผลิตของยางพาราบนชุดดินระนองในจังหวัดชุมพร
P. 18

9





                    เพื่อให้เป็นแหล่งพลังงานหรืออาหารของจุลินทรีย์  จึงท าให้เกิดการย่อยสลายเร็วขึ้นกว่าการย่อยสลาย
                    ตามธรรมชาติทั่วไป   กระบวนการย่อยสลายอินทรีย์สารนั้นมีจุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องหลายกลุ่ม และหลัง

                    กระบวนการเสร็จสิ้นก็ยังคงมีจุลินทรีย์อยู่  ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมว่าเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต

                    ของจุลินทรีย์ชนิดใด (ภาวนา, 2542)


                                                 ระยะเวลาและสถานที่ด าเนินการ


                    1. ระยะเวลาด าเนินการ


                           เริ่มต้น   เดือนตุลาคม    2551

                           สิ้นสุด  เดือนกันยายน    2554


                    2. สถานที่ด าเนินการ


                           หมู่ที่ 5  ต าบลหินแก้ว  อ าเภอท่าแซะ  จังหวัดชุมพร

                           พิกัดแปลงวิจัย  X  =  503501 E          และ Y  =  1168153 N   (ภาพที่ 1)

                           พื้นที่ด าเนินการอยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 51 ชุดดินระนอง (Rg : Ranong series)
                           ชุดดินที่  51  ชุดดินระนอง  (Rg  :  Ranong  series)  ก าเนิดจากการพุพังสลายตัวอยู่กับที่หรือ

                    เคลื่อนย้ายมาทับถมจากดินทรายและหินในกลุ่ม  (Denudation  Surface  of  Sand  Stone)  (วุฒิชาติ,

                    2550)  ลักษณะและสมบัติดิน  ดินตื้นมีหินโผล่  ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย  มีสีน้ าตาลหรือสีน้ าตาลปน
                    เหลือง ดินล่างเป็นดินร่วนถึงเป็นดินร่วนเหนียวปนเศษหินและมีชั้นหินพื้นภายในความลึก 50 เซนติเมตร

                    จากผิวดินปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงกลางอย่างอ่อน  (pH  4.86-7.65)  ตลอดหน้าตัดดิน  ดินบนมีความ
                    อุดมสมบูรณ์ปานกลาง  และดินล่างมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า  สภาพพื้นที่  เป็นลูกคลื่นลอนลาดถึงเป็นเนิน

                    เขา มีความลาดชัน 5-35 เปอร์เซ็นต์ การระบายน้ าดี การไหลบ่าของน้ าผิวดินเร็ว เป็นดินที่พบทั่วไปใน

                    ภาคใต้หรือพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23