Page 20 - ศึกษาการใช้อัตราที่เหมาะสมของน้ำหมักชีวภาพเพื่อการเพิ่มผลผลิตของยางพาราบนชุดดินระนองในจังหวัดชุมพร
P. 20

11





                                                       อุปกรณ์และวิธีการ
                    1. อุปกรณ์

                           1.1  อุปกรณ์การเก็บตัวอย่างดิน เก็บความหนาแน่นดิน และความชื้นดิน

                           1.2  ถุงพลาสติก ปากกาเคมี เชือก  เครื่องชั่งน้ าหนัก
                           1.3  อุปกรณ์ส านักงาน

                           1.4  อุปกรณ์และวัสดุทางการเกษตร น้ าหมักชีวภาพผลิตซุปเปอร์พด.2
                           1.5  ยางพาราพันธุ์  RRIM  600 อายุปลูกในแปลง 10 ปี



                    2. วิธีการด าเนินงาน
                           ทดสอบผลของความเข้มข้นของน้ าหมักชีวภาพกับแปลงวิจัยคัดเลือกยางพาราพันธุ์  RRIM  600

                    อายุปลูกในแปลง 10 ปี จากแปลงหมอดินอาสา เลือกต้นมีความสมบูรณ์ไม่มีโรคและแมลงท าร้ายจากนั้น
                    วางแผนการทดลองมีขั้นตอนดังนี้



                           2.1 วางแผนการทดลอง
                           คัดเลือกยางพาราอายุ 10 ปี วางแผนการทดลองแบบ randomized complete block design

                    (RCBD) 4 ต ารับ 5 ซ้ า จัดสิ่งทดลองที่ก าหนดในการวิจัยดังนี้

                               ต ารับที่ 1  (T1)   การปฏิบัติของเกษตรกร (น้ าเปล่า)
                               ต ารับที่ 2   (T2)   น้ าหมักชีวภาพ (อัตราส่วน 1:500)

                               ต ารับที่ 3   (T3)   น้ าหมักชีวภาพ (อัตราส่วน 1:1,000)

                               ต ารับที่ 4   (T4)   น้ าหมักชีวภาพ (อัตราส่วน 1:1,500)
                    หมายเหตุ การเตรียมน้ าหมักชีวภาพส าหรับใช้ในการทดลองใช้น้ าหมักชีวภาพสูตรผลไม้เข้มข้นผสมน้ า

                    สะอาดในอัตราส่วนตามต ารับทดลองและการฉีดพ่นน้ าหมักชีวภาพใช้ปริมาณ 150 ลิตรต่อไร่ทุกต ารับ
                    ทดลอง



                           2.2 แผนผังแปลงวิจัย
                           การจัดแปลงวิจัยใช้แถวเป็นซ้ า (R1-R5) ใน 1 ช้ า มีหน่วยทดลอง เท่ากับ 3 ใช้ต้นยางพารา

                    ทั้งหมด 60 ต้น  (ภาพที่ 2)
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25