Page 17 - ศึกษาการใช้อัตราที่เหมาะสมของน้ำหมักชีวภาพเพื่อการเพิ่มผลผลิตของยางพาราบนชุดดินระนองในจังหวัดชุมพร
P. 17

8





                    มีความสามารถย่อยสลายวัสดุเหลือใช้จากพืชและสัตว์ในลักษณะอวบน้ า  หรือมีความชื้นสูง โดยด าเนิน
                    กิจกรรมการหมักในสภาพที่ไม่มีออกซิเจนจะได้ของเหลวที่ประกอบด้วยกรดอินทรีย์และฮอร์โมน

                           การผลิตน้ าหมักชีวภาพ โดยใช้สารเร่ง พด.2 มีส่วนผสมในการผลิต คือ เศษเนื้อสัตว์และผลไม้

                    หรือผักผลไม้ 40 กิโลกรัม กากน้ าตาล 10 กิโลกรัม น้ า 10  ลิตร สารเร่ง พด.2 จ านวน 1 ซอง (25 กรัม)
                    ใช้ระยะเวลาหมัก 21 วัน วิธีการใช้น้ าหมักชีวภาพในสวนยางพาราสามารถท าได้ดังนี้  คือ ช่วงเปิดกรีด

                    ยาง ฉีดพ่นหรือรดน้ าหมักชีวภาพ ลงดินระหว่างแถวปลูกยางพารา อัตราเจือจาง 1 : 100 ในช่วงฤดูฝน
                    ทุก 15 วัน ฉีดพ่นน้ าหมักชีวภาพ  อัตราเจือจาง 1 : 1,000 ที่ล าต้น ตั้งแต่โคนต้นจากพื้นดินสูงขึ้นมา

                    ประมาณ 2 เมตร (ช่วงบริเวณที่กรีดยาง) ทุก 15 วัน การฉีดน้ าหมักชีวภาพ จะท าให้ผิวหน้ายางอ่อนง่าย

                    ต่อการกรีด และปริมาณน้ ายางออกมากยิ่งขึ้น ประโยชน์ของน้ าหมักชีวภาพ จะช่วยเร่งการเจริญเติบโต
                    ของรากพืช  เพิ่มการขยายตัวของใบและล าต้น (กรมพัฒนาที่ดิน, 2545)

                           นอกจากนี้ สุริยา (2542) ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับน้ าสกัดชีวภาพไว้ดังนี้คือ เป็นน้ าสกัดที่ได้
                    จากการย่อยสลายเศษวัสดุเหลือใช้จากส่วนต่างๆ ของพืชหรือสัตว์ โดยผ่านกระบวนการหมักในสภาพที่

                    ไม่มีออกซิเจน (anaerobic condition) มีจุลินทรีย์ท าหน้าที่ย่อยสลายเศษซากพืชและซากสัตว์เหล่านี้ให้

                    กลายเป็นสารละลาย  รวมถึงการใช้เอนไซม์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือมีการเติมเอนไซม์เพื่อเร่งการ
                    ย่อยสลายได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น   จุลินทรีย์ที่พบในน้ าสกัดชีวภาพ มีทั้งที่ต้องการออกซิเจนและไม่

                    ต้องการออกซิเจน มักเป็นกลุ่มแบคทีเรีย Bacillus sp.  Lactobacillus sp. และ Streptococcus sp.

                    นอกจากนี้อาจพบกลุ่มเชื้อรา ได้แก่ Aspergillus  nige  Pennicilliu,  Rhizopus    และยีสต์ ได้แก่
                    Canida ap. และ  Sacarsmycetes

                           ยงยุทธ  (2542)  ได้ให้ทัศนะถึงน้ าสกัดชีวภาพดังนี้  “ สารสกัดจากพืชหรือสัตว์ ”  จะมีน้ าเป็น

                    องค์ประกอบในเซลล์พืชหรือสัตว์อยู่มากเมื่อน ามาหมักรวมกับน้ าตาลที่ละลายในน้ าเป็นลักษณะน้ าเชื่อม
                    หรืออาจใช้โมล้าส  ซึ่งเป็นสารละลายที่มีความเข้มข้นสูงกว่าน้ าภายในเซลล์ของพืชหรือสัตว์  ท าให้ผนัง

                    เซลล์สูญเสียสภาพหรือที่เรียกว่าเซลล์แตก  อินทรีย์สารที่อยู่ในเซลล์จึงละลายรวมอยู่  ในน้ าเชื่อม
                    เหล่านั้น  ขณะเดียวกันจุลินทรีย์ที่มีอยู่ทั่วไปในธรรมชาติจะเข้ามาช่วยสลายเศษซากพืชหรือสัตว์ด้วย

                    ดังนั้นอินทรีย์สารที่ได้จากการย่อยสลาย  จึงมีทั้งจากของเดิมที่ได้จากพืชและของใหม่ที่ได้จากการ

                    สังเคราะห์โดยจุลินทรีย์  ขณะที่เกิดกระบวนการย่อยสลายอินทรีย์สารที่ถูกย่อยสลายจะมีโมเลกุลขนาด
                    เล็กท าให้พืชดูดซึมได้ง่าย  แต่สารต่าง ๆ  ที่ได้จะมีปริมาณเล็กน้อย  เพราะวัสดุที่ใช้ยังสดอยู่จึงมีน้ าเป็น

                    องค์ประกอบอยู่มาก ขณะที่อินทรีย์สารที่มีอยู่น้อยกว่าวัสดุแห้งเมื่อเปรียบเทียบที่น้ าหนักเท่ากัน
                    นอกจากนี้ผลผลิตที่ได้แต่ละครั้งจะมีความแตกต่างกันเนื่องจากวัตถุดิบคือซากพืชซากสัตว์  สิ่งแวดล้อมที่

                    เกี่ยวข้องกับกระบวนการโดยเฉพาะอุณหภูมิที่มีการเปลี่ยนแปลง  จะท าให้คุณภาพในแต่ละครั้งไม่

                    สม่ าเสมอ
                           น้ าสกัดชีวภาพที่ได้มาจากการหมักเศษพืชหรือสัตว์นั้น  ถึงแม้ไม่ได้ใส่กากน้ าตาล  พืชและสัตว์

                    ซึ่งเป็นอินทรียวัตถุก็จะถูกย่อยสลาย  โดยกระบวนการทางธรรมชาติอยู่แล้ว  แต่การที่ใส่กากน้ าตาลลงไป
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22