Page 35 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับถั่วพร้าต่อการผลิตข้าวโพดฝักอ่อนในชุดดินนครปฐม
P. 35

23




                  1,082.60  กิโลกรัมต่อไร่  น้ าหนักตอซังข้าวโพดหวานพิเศษสูงสุดคือ  2,017.97  กิโลกรัมต่อไร่และได้

                  ความหวาน  12.27  องศาบริก  ในขณะที่ต ารับการทดลองที่ไม่ใส่ปุ๋ยใดๆเลยจะได้ความหวานของ

                  ข้าวโพดต่ าสุด  คือ  10.40  องศาบริก   ข้าวโพดตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนเด่นชัด  การใช้ปุ๋ย
                  ไนโตรเจน  10  กิโลกรัมต่อไร่ในดินกลุ่ม  Reddish  Brown  สามารถเพิ่มผลผลิตได้  172  กิโลกรัมต่อไร่

                  ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์มีสหสัมพันธ์ต่อผลผลิต  ค่าวิกฤติของฟอสฟอรัสในดินคือ  9  ppm

                  ถ้าค่าต่ ากว่า  9  โดยวิธี  Bray  ปุ๋ยฟอสเฟตมีผลโดยตรงต่อการเพิ่มผลผลิต  ธาตุอาหารที่ข้าวโพดน าไปใช้
                  จากดิน  18  กิโลกรัมต่อไร่  (สัมฤทธิ์,  2541)

                                   ไชยวัฒน์และคณะ  (2544)  ได้ท าการศึกษาการจัดการดินในชุดดินก าแพงเพชร เพื่อปลูก

                  ข้าวโพดหวานในจังหวัดก าแพงเพชร  (2539 – 2541) ผลการวิจัยทดสอบผลผลิตของข้าวโพดหวานชั่ง

                  เฉพาะฝักไม่รวมเปลือกเฉลี่ย  3  ปี  พบว่าการปลูกข้าวโพดหวานโดยใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 15 -15 -15   อัตรา
                  50  กิโลกรัมต่อไร่  ให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด  1,033.07  กิโลกรัมต่อไร่  รองลงมาคือการใช้ปุ๋ยเคมีสูตร

                  15-15-15 อัตรา  25  กิโลกรัมต่อไร่  โดยปลูกปอเทืองเป็นปุ๋ยพืชสดก่อนปลูกข้าวโพดซึ่งให้ผลผลิตเฉลี่ย

                  945.73  กิโลกรัมต่อไร่  สรุปการใช้ปุ๋ยพืชสดช่วยให้ดินมีสมบัติดีขึ้นสามารถช่วยประหยัดปุ๋ยเคมีได้ใน
                  ระดับหนึ่ง  สอดคล้องกับประชาและคณะ (2543  ข)  ใช้ปุ๋ยพืชสด  5  ชนิด  คือ  ปอเทือง  โสนจีนแดง

                  โสนอัฟริกัน  ถั่วพุ่มและถั่วพร้า ปลูกแล้วสับกลบที่อายุ  50  วันเป็นปุ๋ยพืชสดร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีสูตร

                  16-16-8  อัตรา  25  กิโลกรัมต่อไร่  สามารถท าให้ผลผลิตงาขาวสูง  คือ  91.02 , 79.20 , 83.97 , 79.58
                  และ  92.63  กิโลกรัมต่อไร่  ตามล าดับ  ซึ่งใกล้เคียงกับการใช้ปุ๋ยเคมี  50  กิโลกรัมต่อไร่  ที่ให้ผลผลิต

                  80.90  กิโลกรัมต่อไร่  แสดงว่าการใช้ปุ๋ยพืชสดนั้นสามารถส่งเสริมประสิทธิภาพของปุ๋ยเคมี



                  6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ปุ๋ยมูลสัตว์ร่วมกับปุ๋ยเคมี  และการใช้ปุ๋ยพืชสด


                                6.1 การใช้ปุ๋ยมูลสัตว์ร่วมกับปุ๋ยเคมี

                                 Egball  and  Power  (1999)  ศึกษาการใช้ปุ๋ยมูลวัวเพื่อเป็นแหล่งไนโตรเจนให้กับข้าวโพด
                  โดยใช้ปุ๋ยมูลวัวที่ผ่านการหมักแล้วและปุ๋ยมูลวัวสด พบว่า ปุ๋ยมูลวัวสดสามารถสลายตัวปลดปล่อย

                  ไนโตรเจนได้ถึง 40 เปอร์เซ็นต์ หลังจากใส่ในดินเป็นระยะเวลา 1 ปี และผลตกค้างจากการใส่มีผลท าให้

                  มูลวัวสามารถตัวปลดปล่อยไนโตรเจนได้ 18  เปอร์เซ็นต์ในปีที่สอง ส่วนปุ๋ยมูลวัวที่ผ่านการหมักแล้ว
                  สามารถสลายตัวปลดปล่อยไนโตรเจนได้ 15    เปอร์เซ็นต์หลังจากใส่ในดินเป็นระยะเวลา 1  ปี และผล

                  ตกค้างจากการใส่มีผลท าให้ปุ๋ยมูลวัวที่ผ่านการหมักแล้วสามารถปลดปล่อยไนโตรเจนได้ 8  เปอร์เซ็นต์

                  ในปีที่สอง
                                 กมลวรรณ (2548) ศึกษาอิทธิพลของมูลไก่อัดเม็ดต่อการเจริญเติบโต ผลผลิตของข้าวโพด

                  ฝักอ่อนที่ปลูกในชุดดินเลยและชุดดินพิมาย พบว่า ชุดดินเลยของต ารับที่ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15  อัตรา
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40