Page 37 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับถั่วพร้าต่อการผลิตข้าวโพดฝักอ่อนในชุดดินนครปฐม
P. 37

25




                                 วรกานต์ (2552)  ศึกษาผลของการใส่มูลโคร่วมกับปุ๋ยเคมีเป็นปุ๋ยรองพื้นในนา ต่อการ

                  เจริญเติบโต และผลผลิตของข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105  โดยใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8 ด าเนินการในแปลง

                  นาของเกษตรกร 2  ชุดดิน คือ ชุดดินร้อยเอ็ด และชุดดินพิมาย ผลการทดลองพบความแตกต่างทางสถิติ
                  ของการเจริญเติบโตของข้าวทั้งใน 2 ชุดดิน และพบความแตกต่างทางสถิติของผลผลิตข้าวเฉพาะในชุด

                  ดินร้อยเอ็ด โดยผลผลิตข้าวในต ารับปุ๋ยเคมีสูงกว่าต ารับควบคุม และไม่แตกต่างจากกลุ่มต ารับที่มีการใส่

                  ปุ๋ยมูลโค และกลุ่มต ารับที่การใส่ปุ๋ยมูลโค 75 กก./ไร่ มีผลผลิตไม่แตกต่างจากต ารับควบคุม ผลผลิตข้าว
                  ในต ารับปุ๋ยเคมีและต ารับที่มีการใส่ปุ๋ยมูลโคอัตรา 150  กก./ไร่  ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตรา 12.50  กก./ไร่ ในชุด

                  ดินร้อยเอ็ดสูงกว่าต ารับควบคุม (130.48  กก./ไร่)  เท่ากับ  41.7  และ  54.4 % ตามล าดับ  และในชุดดิน

                  พิมายสูงกว่าต ารับควบคุม (357.89 กก./ไร่)  เท่ากับ  13.6  และ  17.6 % ตามล าดับ

                                 รัตติญา (2554)  ได้ศึกษาผลของปุ๋ยมูลโคและปุ๋ยพืชสดต่อผลผลิตข้าวโพดฝักอ่อนอินทรีย์
                  เมื่อเปรียบเทียบผลผลิตรวมภายในกลุ่มต ารับที่ใช้วัสดุอินทรีย์ พบว่า ในรอบปีที่ 1 กลุ่มต ารับที่ใส่มูลโค

                  เพียงอย่างเดียวให้ผลผลิตข้าวโพดฝักอ่อนมากกว่ากลุ่มต ารับปุ๋ยพืชสด นอกจากนี้กลุ่มต ารับที่ใส่ปุ๋ยมูลโค

                  อัตรา 30  กก.N/ไร่  ให้ผลผลิตข้าวโพดฝักอ่อนมากกว่าต ารับปุ๋ยมูลโคอัตรา  60  กก.N/ไร่  และต ารับ
                  ปุ๋ยพืชสดร่วมกับปุ๋ยมูลโคอัตรา 30 กก.N/ไร่  ให้ผลผลิตข้าวโพดฝักอ่อนมากกว่าต ารับปุ๋ยพืชสดร่วมกับ

                  ปุ๋ยมูลโคอัตรา  60 กก.N/ไร่ และต ารับปุ๋ยพืชสดเพียงอย่างเดียว และในรอบปีที่ 2  พบว่า การใส่ปุ๋ยมูลโค

                  ในอัตราที่เพิ่มขึ้น คือ ปุ๋ยมูลโคอัตรา 40  กก.N/ไร่  ให้ผลผลิตข้าวโพดฝักอ่อนมากกว่าต ารับปุ๋ยมูลโค
                  อัตรา  20 กก.N/ไร่  และต ารับปุ๋ยพืชสดร่วมกับปุ๋ยมูลโคอัตรา 40 กก.N/ไร่  ให้ผลผลิตข้าวโพดฝักอ่อน

                  มากกว่าต ารับปุ๋ยพืชสดร่วมกับปุ๋ยมูลโคอัตรา  20 กก.N/ไร่ และต ารับปุ๋ยพืชสดเพียงอย่างเดียว



                                6.2 การใช้ปุ๋ยพืชสด
                                 หริ่งและคณะ  (2532)  ศึกษาการใช้ถั่วพุ่ม และถั่วแปบเป็นปุ๋ยพืชสดกับข้าวโพดฝักอ่อนที่

                  ปลูกปีละ 2 ครั้ง  ในดินร่วนเหนียว จังหวัดราชบุรี  พบว่า  การใช้ปุ๋ยพืชสดท าให้ข้าวโพดมีน้ าหนักต้นสด

                  เพิ่มขึ้นประมาณ 16% และต้นสดน าไปใช้ประโยชน์ในการเลี้ยงโคนม แต่ไม่ช่วยเพิ่มผลผลิตของน้ าหนัก
                  ฝักอ่อนอย่างเด่นชัด โดยถั่วพุ่มให้น้ าหนักฝักอ่อน  822    กก./ไร่ ส่วนแปลงที่ไม่ใส่ปุ๋ยพืชสดให้ผลผลิต

                  807 กก./ไร่

                                 มงคล และคณะ (2539) พบว่า วิธีการจัดการดินทรายที่เหมาะสมเพื่อปลูกข้าวโพดหวานให้

                  ได้ผล ก็คือ การปลูกถั่วพร้าเป็นปุ๋ยพืชสดก่อนการปลูกข้าวโพด 50 วัน ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่าการตัด
                  ถั่วพร้ามาคลุมดินหรือปลูกแซมร่วมกับข้าวโพด การปลูกถั่วพร้าเป็นปุ๋ยพืชสดท าหึความหนาแน่นรวม

                  ของดินลดลง มีการซาบซึมน้ าดีขึ้น ข้าวโพดสามารถใช้ประโยชน์จากความชื้นในดินตามสภาพน้ าฝนได้

                  ดีกว่าวิธีอื่น 7-25% ช่วยให้การใช้ปุ๋ยเคมีมีประสิทธิภาพดีขึ้นด้วย
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42