Page 16 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับถั่วพร้าต่อการผลิตข้าวโพดฝักอ่อนในชุดดินนครปฐม
P. 16

4




                                                      การตรวจเอกสาร



                  1.  ลักษณะทั่วไปของชุดดินนครปฐม



                                     ชุดดินนครปฐม  (Nakhon Pathom Series: Np) จัดอยู่ใน fine, mixed, active, isohyperthermic
                  Aeric Endoaqualfs  เกิดจากการทับถมของตะกอนจากล าน้ าบนลานพักล าน้ าระดับต่ า   สภาพพื้นที่ที่พบ

                  มีลักษณะราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ  มีความลาดชัน 0 -2 เปอร์เซ็นต์  ชุดดินนี้เป็นดินลึก  มีการระบาย

                  น้ าค่อนข้างเลว คาดว่าดินมีความสามารถให้น้ าซึมผ่านช้า   มีการไหลบ่าของน้ าบนผิวดินช้า ดินบนลึกไม่
                  เกิน  30  เซนติเมตร มีเนื้อดินเป็นดินร่วนร่วนเหนียว ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง  หรือดินร่วน   สีพื้น

                  เป็นสีน้ าตาล  สีน้ าตาลเข้มหรือสีเข้มของน้ าตาลปนเทา  มีจุดประสีน้ าตาลแก่  และสีแดงปนเหลือง

                  ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน้อยถึงกรดจัด (pH 5.5-6.5)   ดินบนตอนล่างมีเนื้อดินเป็นดินเหนียวหรือดินร่วน

                  ปนดินเหนียว สีน้ าตาลปนเทาเข้ม  สีจุดประสีน้ าตาลแก่หรือสีน้ าตาลปนเหลืองในดินบนและดินล่าง
                  ปฏิกิริยาดินเป็นกลางถึงด่างปานกลาง (pH 6.5-8.0) ดินล่างตอนล่าง จะพบมวลก้อนกลมของเหล็ก และ

                  แมงกานีสปะปนอยู่ พบมวลก้อนกลมของปูนในดินล่างในระดับความลึก 80 เซนติเมตร จากผิวดินลงไป

                  ปฏิกิริยาดินเป็นด่างปานกลาง (pH  8.0)  ชุดดินที่คล้ายคลึงกัน ชุดดินสระบุรี ชุดดินเดิมบาง ชุดดิน
                  มโนรมย์ ชุดดินก าแพงแสน และชุดดินเพชรบุรี

                                     พืชพรรณธรรมชาติและการใช้ประโยชน์ที่ดิน ดินนี้มีศักยภาพเหมาะสมทั้งการท านา ปลูก

                  พืชไร่  พืชผักและไม้ผล  ถ้าจะใช้ในการปลูกพืชไร่  พืชผักและไม้ผล  ทั้งฤดูฝนและฤดูแล้ง  จ าเป็นต้อง
                  แก้ไขปัญหาและข้อจ ากัดในการใช้ที่ดิน  ได้แก่ (1) แก้ปัญหาน้ าท่วมขัง  โดยท าคันดินรอบพื้นที่ปลูกเพื่อ

                  ป้องกันน้ าท่วม  และ  (2) ยกร่องปลูกเพื่อช่วยการระบายน้ าของดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548)



                  2. ข้าวโพดฝักอ่อน


                                     2.1 ลักษณะของข้าวโพดฝักอ่อน

                                   ข้าวโพดฝักอ่อน  มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า  Zea mays Linn.  อยู่ในวงศ์  Gramineae  เป็นพืชที่มี

                  ระบบรากฝอย  ไม่มีรากแก้ว ล าต้นแข็ง สูงตั้งแต่ 60 เซนติเมตรขึ้นไปแล้วแต่ชนิดของพันธุ์  ใบประกอบ
                  ด้วยกาบใบและหูใบ ดอกจะมีดอกตัวผู้ และดอกตัวเมียแยกกันอยู่คนละดอกในต้นเดียวกัน ดอกตัวผู้รวม

                  กันเป็นช่อ เรียกว่าช่อดอกตัวผู้ อยู่ตอนบนสุดของล าต้น มีอับละอองเกสร 3 อัน ดอกตัวเมียมีลักษณะเป็น

                  ช่อ มักอยู่ที่ฝักบริเวณข้อกลางๆ ของล าต้น ประกอบด้วยรังไขและเส้นไหม ในการปลูกข้าวโพดฝักอ่อน
                  ใช้ระยะเวลาตั้งแต่ปลูกจนเก็บเกี่ยวฝักอ่อนประมาณ 50  –  60  วัน  ท าการถอดยอดเมื่อต้นข้าวโพดอายุ
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21