Page 13 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับถั่วพร้าต่อการผลิตข้าวโพดฝักอ่อนในชุดดินนครปฐม
P. 13

1




                                                     หลักการและเหตุผล



                                     ปัจจุบันเป็นปัญหาที่ส าคัญอย่างต่อเนื่องของพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรของประเทศไทย คือ ดิน

                  มีธาตุอาหารต่ าขาดความอุดมสมบูรณ์ สมบัติทางกายภาพไม่ดี มีรายงานว่าประเทศไทยมีพื้นที่ที่มี
                  ปริมาณอินทรียวัตถุต่ าประมาณ 191  ล้านไร่ 60% ของพื้นที่ท าการเกษตรทั้งหมด (กรมพัฒนาที่ดิน,

                  2551) และพื้นที่ปลูกข้าวโพดฝักอ่อนของอ าเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี มีพื้นที่เป็นกลุ่มชุดดินที่ 7  ถึง

                  1.37 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งชุดดินนครปฐมมีลักษณะเป็นดินร่วนปนเหนียวปนทรายแป้งหรือดินร่วนปนเหนียว

                  เป็นดินลึก การระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงเลว ดินมีความสามารถให้การซึมผ่านช้า มีการไหลบ่าของน้ าบน
                  ผิวดินช้า มีปริมาณอินทรียวัตถุปานกลาง เป็นกรดจัดถึงกรดเล็กน้อย (กรมพัฒนาที่ดิน, 2548) อย่างไรก็

                  ตามเกษตรกรก็ยังประสบปัญหาคุณภาพของดินเสื่อมโทรมและขาดความอุดมสมบูรณ์  เพราะเกษตรกร

                  ได้ใช้พื้นที่ในการเพาะปลูกเป็นพืชเชิงเดี่ยวเท่านั้น  และการการเพาะปลูกพืชอย่างต่อเนื่อง โดยไม่มีการ
                  ปรับปรุงบ ารุงดิน ส่งผลให้ธาตุอาหารของพืชทีมีอยู่ในดินค่อยๆ หมดไป สาเหตุที่ท าให้ธาตุอาหารหมด

                  ไปอย่างรวดเร็ว คือ ติดไปกับผลผลิตที่น าออกมานอกพื้นที่ การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวโดยการเผาตอซัง

                  การเขตกรรม ปริมาณน้ าฝนที่มาก ซึ่งส่งผลให้ดินสูญเสียความสมบูรณ์ไปได้ เนื่องจากการลดลงของ

                  ปริมาณอินทรียวัตถุและการชะล้างของธาตุอาหารออกไป ท าให้เกิดปัญหาในเรื่องเพาะปลูก ได้ผลผลิต
                  ต่ า แนวทางหนึ่งที่จะช่วยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ดิน คือ การเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุและธาตุอาหาร

                  ลงไปในดิน ซึ่งทางเลือกในการรักษาและฟื้นฟูสภาพดินให้อุดมสมบูรณ์นั้นมีหลายวิธี คือ การผลิตและ

                  การใช้ปุ๋ยหมัก การใช้ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงที่กรมพัฒนาที่ดินได้แนะน าให้เกษตรกรน า
                  วัตถุดิบที่มีปริมาณธาตุอาหารหลักค่อนข้างสูง คือ เศษพืชตระกูลถั่ว ร าของพืชต่างๆ มูลสัตว์ กระดูกป่น

                  เศษปลา และหินแร่ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2551) ซึ่งเป็นวิธีการพัฒนาให้ปุ๋ยอินทรีย์มีธาตุอาหารหลักสูงขึ้น

                  เพื่อเป็นทางเลือกหนึ่งที่จะสามารถลดหรือทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี
                                     ข้าวโพดฝักอ่อน (baby corn) เป็นพืชเศรษฐกิจที่ส าคัญในการส่งออก  มีทั้งการแปรรูป บรรจุ

                  กระป๋อง การส่งออกฝักสด และฝักสดแช่แข็ง แต่การผลิตข้าวโพดฝักอ่อนมีปัญหาส าคัญ คือ เกษตรกรใช้

                  ปุ๋ยเคมีในปริมาณมาก ซึ่งเป็นสาเหตุที่ส าคัญในการกีดกันทางการค้าผลผลิตทางการเกษตรและสินค้า
                  ระหว่างประเทศ ที่ไม่ยอมรับการใช้สารเคมีรวมทั้งปุ๋ยเคมีในการผลิต แต่เน้นผลผลิตอินทรีย์เพื่อสุขภาพ

                  เท่านั้น อีกทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนหันมาให้ความส าคัญกับการผลิตและการบริโภคผักแบบปลอดภัย

                  จากสารพิษ มีผักหลายชนิดที่มีการส่งเสริมให้ปลูกแบบปลอดภัยจากสารพิษ ข้าวโพดฝักอ่อนก็เป็นผัก

                  ชนิดหนึ่งที่มีการส่งเสริมให้ปลูกแบบปลอดภัยจากสารพิษ และแหล่งปลูกที่ส าคัญ คือ ที่ราบลุ่มภาคกลาง
                  ตอนล่าง ได้แก่ ราชบุรี นครปฐม และกาญจนบุรี และเกษตรกรให้ความส าคัญกับกระแสความนิยมผัก

                  ปลอดภัยจากสารพิษและผักอินทรีย์ จึงหันมาสนใจการใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ กอปรกับเกษตรกรได้

                  ใช้พื้นที่ในการผลิตข้าวโพดฝักอ่อนอย่างต่อเนื่องและใช้ปุ๋ยเคมีอย่างเดียวในการเพิ่มผลผลิต จึงท าให้ดิน
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18