Page 57 - การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินบริเวณพื้นที่ปลูกป่าของศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 57

40


                             3.1.2.สภาพภูมิประเทศ

                             ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด าริต าบลสามพระยา อ าเภอชะอ า
                      จังหวัดเพชรบุรี ตั้งอยู่ในเขตพระราชนิเวศน์มฤคทายวันครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 22,627ไร่ ดังภาพ

                      ที่ 3  มีลักษณะภูมิประเทศ ด้านทิศตะวันตกของพื้นที่เป็นภูเขาและเนินเขามีความลาดชันและลาด

                      เอียงไปทางทิศตะวันออก ตอนกลางเป็นพื้นที่ราบ ส่วนตอนล่างติดกับชายฝั่งทะเลในค่ายพระราม
                      หก มีคลองล าห้วยใหญ่ที่รับน้ าจากพื้นที่ตอนบนและไหลลงสู่ทะเลที่ปากคลองบางกราน้อยและบา

                      งกราใหญ่ ลักษณะของดินเกิดจากการย่อยสลายของหินแกรนิต สภาพป่าโดยทั่วไปถูกท าลายอย่าง

                      สิ้นเชิง

                                     ถนนบายพาสชะอ า – ปราณบุรี                               ถนนเพชรเกษม






                                                                                               พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน

                         ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วย

                                 ทราย                                                         ค่ายพระรามหก


                         อันเนื่องมาจากพระราชด าริ

                                                                                           ค่ายนเรศวร





                                                                                      ไป อ.หัวหิน
                                      ไป อ.ปราณบุรี

                                                  เขตพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด าริ
                                                    เขตพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด าริ



                                   ภาพที่ 31 ขอบเขตศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด าริ



                             3.1.3.สภาพภูมิอากาศ

                             สภาพอากาศบริเวณที่ตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด าริและ
                      หมู่บ้านรอบศูนย์ฯ เทือกเขาสลับสับซ้อนเป็นแนวยาว จากทิศเหนือไปทางทิศใต้ เมื่อมีลมมรสุม

                      ตะวันตกเฉียงใต้ ร่องความกดอากาศท าให้มีฝนตกในบริเวณที่เป็นเทือกเขาและในทะเลฝั่งอ่าวไทย

                      ฯ ออกไปจะมีและ ลมมรสุมะวันออกเฉียงเหนือพัดผ่านประเทศไทย ซึ่งจะเป็นความกดอากาศต่ า
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62