Page 36 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 36

Ap-Bw-Bt-C-2Ab-2Btb1-2Btb2-2C   ฯลฯ เปนตน  (เอิบ  เขียวรื่นรมณ, 2541  คูมือปฏิบัติการสํารวจ

            ดิน)
                    28)  Depth – ความลึก ใหบงความลึกเปนเซนติเมตรของชั้นดินแตละชั้นวาลึกจากระดับไหนถึงไหน เชน 0-

            15 ซม. หรือ 15-34 ซม. เปนตน

                    29)   Color (moist)  -  สีดิน  (เมื่อชื้น)  :
                    สีของดินจะเห็นไดชัดและแยกออกไดงาย เมื่อทําการศึกษาลักษณะของชั้นดิน (Soil profile) ฉะนั้นสีของดิน

            จึงนับไดวามีความจําเปนอยางหนึ่งที่จะทําการศึกษา  เมื่อเราจําแนกประเภทดิน (Soil classification)  สีของดินจะเปน

            คุณลักษณะที่เห็นไดงายที่สุด  เมื่อทําการสํารวจดินในสนาม  โดยปกติสีของดินโดยตัวของมันเองแลวมีความสําคัญ

            เกี่ยวกับดินโดยตรงเปนสวนนอย แตวาสีก็เปนสิ่งที่ชี้ใหเห็นสภาพตางๆ ของดินไดเปนอยางดี
                    29.1 ความสําคัญของสีของดิน

                    ดินที่มีอินทรียวัตถุ (organic matter)  อยูก็จะแสดงใหเห็นสีของดินแตกตางกันไป  เชน  ดินที่มีสีคล้ํา (Dark

            colored soil) ก็มีความสัมพันธที่แสดงใหเห็นวา ดินนั้นมีพวกอินทรียวัตถุอยูมากกวาดินที่สีจาง (Light colored soil)

                    ดินที่มีการระบายน้ําดี สวนมากจะมีสีดินตั้งแตสีน้ําตาลออนจนถึงสีน้ําตาล และจะมีสีน้ําตาลเขมเรือสีดําตาม
            ปริมาณของอินทรียวัตถุที่เพิ่มขึ้น ดินที่มีอินทรียวัตถุที่สลายตัวดีแลว (Humus) จะมีสีดําหรือเกือบดํา และจะมีสีเขมกวา

            ดินที่มีอินทรียวัตถุที่ยังไมสลายตัวดี ซึ่งสวนใหญจะมีสีน้ําตาล


            สีของดินแตกตางกันและอาจจะแบงออกไดดังนี้

                    ดินสีน้ําตาลเขมถึงสีดํา (Dark brown to black soils) โดยทั่วไปเปนดินที่มีอินทรียวัตถุอยูมากในดิน และเปน

            ดินที่มีความอุดมสมบูรณดี ใหผลผลิตในดานเกษตรกรรมคอนขางสูง อินทรียวัตถุนอกจากมีความสัมพันธกับสีของดิน
            ทั้งสองนี้แลว ยังทําใหดินนั้นมีโครงสราง (Structure) ดี และเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของรากพืช และเปนสิ่งชวย

            ทําใหธาตุอาหารในดินเปนประโยชนตอพืชอีกดวย เชน แคลเซียมและไนโตรเจน

                    ดินที่มีสีน้ําตาลเขมหรือสีดํา บางครั้งก็ไมจําเปนจะตองเปนดินที่มีอินทรียวัตถุมากเสมอไป ดินสีคล้ําหรือสีดํา
            อาจจะเปนดวยดินนั้นมีปริมาณของแรธาตุบางอยางสูง เชน แมงกานีส เหล็ก แมกนีไทต หรือเปนพวกถานอยูในดินก็

            ได

                    ดินสีแดงหรือสีน้ําตาลปนแดง (Red or reddish brown soils) เปนดินที่มีความสัมพันธกับพวก Unhydrate iron

            oxide  หรือพวก  Manganese dioxide และบางสวนของ  hydrated iron oxide  ทําใหเกิดดินที่มีสีแดงหรือสีน้ําตาลปน
            แดง โดยปกติพวก  Unhydrated iron oxide  ไมคงสภาพ (Unstable) เมื่ออยูในสภาวะที่มีความชื้นสามารถที่จะถูก

            ออกซิไดซไดงาย เมื่อมีปริมาณของออกซิเจนพอเพียงทําใหเปลี่ยนเปน  Ferric oxide (Fe O   n  H O) ใหดินมีสีแดง
                                                                                       2 3
                                                                                                2
            เชนเดียวกับตะปูเหล็กเมื่อถูกความชื้น และถูกออกซิเจนในอากาศก็จะเกิดสนิมสีน้ําตาลแดง สารประกอบของเหล็กที่มี

            อยูในดินก็เชนเดียวกัน ดวยเหตุนี้จะเห็นไดวาดินสีแดงนั้นมีสภาพการระบายน้ําดี (Good  drianage)  และมีการถายเท
            อากาศดี (Good  aeration)  มีสภาพการสลายตัวที่คอนขางรุนแรง ดังนั้นดินสีแดงมักจะเกิดในแถบที่มีอากาศรอนหรือ







                                                           29
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41