Page 35 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 35

3.  ในกรณีที่จําเปนตองใชสัญลักษณประกอบชั้นดินหลักมากกวา 1 ตัว อักษรตอไปนี้จะใชเปนตัวแรกคือ a,

            d, e, h, i, r, s, t และ w ยกเวนในกรณีของ Bhs หรือ Crt (ชั้นหินผุที่มีการสะสมดินเหนียว) อักษรตางๆ เหลานี้จะไมใช
            รวมกันในชั้นดินเดียวกัน

                    4.  ในกรณีที่จําเปนตองใชสัญลักษณประกอบชั้นดินหลักมากกวา 1  ตัว  และชั้นดินนั้นไมใชชั้นดินที่ถูกฝง

            อักษรสัญลักษณตอไปนี้คือ c, f, g, m, v และ x ถาใชจะเขียนเปนตัวสุดทาย เชน Btc, Bkm  เปนตน
                    5.  ในกรณีที่เปนชั้นดินถูกฝง อักษร b จะเขียนทายสุด และใชเฉพาะกับชั้นดินแรธาตุที่ถูกฝง

                    6.  ชั้น B ที่มีการสะสมดินเหนียว และมีลักษณะอื่นๆ ที่แสดงวามีพัฒนาการดานโครงสรางและสีดิน หรือทั้ง

            สองอยาง ใชสัญลักษณ  t  เปนสัญลักษณประกอบชั้น คือเปนชั้น  Bt

                    7.  ชั้น  B  ที่แสดงลักษณะการขังน้ํา หรือมีการสะสมคารบอเนต โซเดียม ซิลิกา ยิปซัม หรือเกลือที่ละลาย
            งายกวายิปซัม  หรือมีการสะสมเซสควิออกไซตตกคาง  ใชสัญลักษณประกอบชั้นดินหลัก g, k, n, q, y, z  หรือ  o

            ตามลําดับ  ถาหากพบวามีการสะสมดินเหนียวที่เกิดจากการเคลื่อนยายมาสะสมดวย  ใหใชอัษร  t   หนาอักษรเหลานี้

           เชน  Bto

                    8.  นอกจากจําเปนที่ตองใชเพื่อวัตถุประสงคในการอธิบาย อักษรที่ใชเปนสัญลักษณประกอบชั้น h, s และ w
            จะไมใชรวมกับ g, k, n, q, y z หรือ  o (เอิบ  เขียวรื่นรมณ,  2541  คูมือปฏิบัติการสํารวจดิน)



            การเขียนสัญลักษณที่เปนอักษรและตัวเลขประกอบชั้นในทางดิ่ง
                    1. ในกรณีที่เปนชั้นดินเดียวกันแตมีมากกวา 1 ชั้น ในหนาตัดดินใหเขียนแบงโดยใชชั้นที่อยูบนสุดเปนชั้นที่

            1 เชน

                        Ap1-Ap2-Bw1-Bw2-Bt1-Bt2-C1-C2 ฯลฯ  เปนตน
                    2. ในกรณีที่มีความแตกตางของวัสดุ (contrasting materials)  หรือมีความไมตอเนื่องทางธรณี (lithologic

            discontinuity) ในหนาตัดดิน แตเปนชั้นดินเดียวกัน เขียนอักษรที่เปนสัญลักษณประกอบชั้นดิน และแจกแจงโดยตัวเลข

            ในทางดิ่ง ดังตัวอยางตอไปนี้เชน
                        Ap1-Ap2-2Bt1-2Bt2-2C1-2C2

                        Ap1-Bw-Bt1-2Bt2-2Bt3-3Bt4-3C ฯลฯ  เปนตน

                    3.  ในชั้นที่แบงหรือแจกแจงไวแลวโดยใชตัวเลข แตถาสามารถแจกแจงปลีกยอยไดอีก เพื่อวัตถุประสงคใน

            การเก็บตัวอยาง อาจเขียนสัญลักษณตัวเลขไดดังตอไปนี้ เชน
                        Ap1-Ap2-Bt1-Bt21-Bt22-Bt3-C  เปนตน

                    4. ชั้นดินถูกฝง (buried horizons) อาจเขียนไดในลักษณะตอไปนี้

                        4.1 ในกรณีที่วัสดุตอนบนและตอนลางไมแสดงความไมตอเนื่องทางธรณี แตดินชั้นลางเปนชั้นดินถูกฝง เชน

                        Ap-Bw-Btb1-Btb2-BCb   ฯลฯ
                        4.2 ในกรณีที่วัสดุตอนบนและตอนลาง (ซึ่งถูกฝง) มีความไมตอเนื่องทางธรณี อาจเขียนเปน







                                                           28
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40