Page 17 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 17

ภาพที่ 3 ตาราง ยูทีเอ็ม























            การอานคาพิกัดตารางมี 2 วิธี คือ

                   9.1) อานจากเครื่องมือกําหนดจุดพิกัด (GPS)
                   การอานคาจากเครื่องมือ GPS จะมีใหเลือกระบบระหวาง Lat/Lon  กับ UTM การอานคา Lat/Lon คืออานคา

            เสนรุงเสนแวง แตในที่นี้จะกลาวเฉพาะการอานคา UTM และการอานคา UTM ในประเทศไทยใชอยู 2 datum คือ

                          1. Indian datum ใชกับแผนที่ภูมิประเทศ 1: 50,000 ของกรมแผนที่ทหารรุนเกา
                          2. WGS 84 ใชกับแผนที่ภูมิประเทศ 1: 50,000  ของกรมแผนที่ทหารรุนใหม  ซึ่งจะมีอักษรและ

            หมายเลข WGS 84 กํากับอยู   คาที่อานไดจากเครื่อง GPS มีความหมายดังนี้
                                            grid No.


                          Zone                     47  705165  E                       Easting
                          Northing                  14  1068 4  N


                                            grid No.
                   เลข 47  คือ  เลขของ Zone  โดยกําหนดวาครึ่งของจังหวัดชัยภูมิไปทางทิศตะวันตก  อยูใน Zone 47  และ

            ครึ่งหนึ่งของจังหวัดชัยภูมิไปทางทิศตะวันออก อยูใน Zone 48 (ประเทศไทยมีอยู 2 Zone)
                   เลข 7 และ 14 คือเลขกํากับ grid ที่นับไปทางทิศตะวันออกและทิศเหนือ ตามลําดับ

                   สําหรับ 05165 E คือ เลขประจําเสน grid ไปทางตะวันออก

                                10684 N  คือ เลขประจําเสน grid ไปทางเหนือ
            เมื่อจะหาตําแหนงในแผนที่ เราจะอานคา พิกัดตาราง ดังนี้คือ 051106 ซึ่งจะไดอธิบายในขอ 9.2

                   9.2)  การอานคาพิกัดตารางจากแผนที่ ภูมิประเทศ




                                                           10
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22