Page 16 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 16
2.3.2 การปฏิบัติงานภาคสนาม
2.3.2.1 ออกตรวจสอบดินไปตามจุดที่กําหนดไว โดยใชพลั่วเปดหนาดินประมาณ 1 ลูกบาศกฟุต แลวใช
สวานเจาะดินแตละชั้นวางเรียงกัน ความลึกที่เจาะประมาณ 1.80 เมตร หรือตื้นกวาหากพบชั้นหิน ชั้นดาน หรือชั้น
ศิลาแลง
2.3.2.2 วินิจฉัยและบันทึกสมบัติของดินแตละชั้น เชน เนื้อดิน สีดิน ความเปนกรดเปนดาง การระบายน้ํา
ของดิน เปนตน รวมทั้งศึกษาสภาพแวดลอมในบริเวณนั้นๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งปจจัยที่ทําใหเกิดดิน (soil formimg
factor) เชน ลักษณะทางธรณีวิทยา ภูมิสัณฐาน วัตถุตนกําเนิด พืชพรรณ สภาพพื้นที่ ตลอดจนสภาพการใช
ประโยชนที่ดินและอื่นๆ
2.3.2.3 บันทึกขอมูลที่ไดทั้งหมดลงในสมุดบันทึกซึ่งจะไดอธิบายเปนขอๆ ไป (ดูตัวอยางสมุดบันทึกใน
ภาพที่ 2)
1) Described by บรรยาย โดย : ใสชื่อผูทําคําบรรยายลงไป
2) Date วันที่ : ใหบันทึก วัน เดือน ป ที่ทําการเจาะสํารวจ
3) Boring No : เลขประจําหลุมเจาะสํารวจดิน : เปนเลขที่ผูสํารวจดินในสนาม กําหนดขึ้น ซึ่งจะตก
ลงกันเองภายใน สวนสํารวจดิน
4) Location : ตําแหนงที่ทําการเจาะสํารวจ : ใหบันทึกวาพบที่ไหน อยูบานอะไร ตําบลอะไร
5) Amphoe : อําเภอ : ใหบันทึกวาพบในอําเภออะไร
6) Changwat : ใหบันทึกวาพบในจังหวัดอะไร
7) Topo. Map Name (หรือ Sheet Name of Topography Map) – ชื่อ ประจําแผนที่ภูมิประเทศของ
กรมแผนที่ทหาร แผนที่ภูมิประเทศทุกแผนจะมีชื่อประจําแผนเอาไวที่หัวกระดาษ ใหบันทึกชื่อประจําแผน เชน บาน
สาริกา หรืออําเภอเลิงนกทา หรือ จังหวัดขอนแกน เปนตน
8) sheet No. – เลขที่ประจําแผนของภูมิประเทศ : แผนที่ภูมิประเทศทุกแผนจะมีเลขที่ประจําแผน
ใหบันทึกเลขดังกลาวลงไป เชน 5237 III หรือ 5439 III เปนตน
9) Coord (Coordinate) – พิกัดตาราง : ใหระบุตําแหนงหรือจุดที่ทําการเจาะสํารวจ ดินอยูที่พิกัด
ตารางเทาใดในแผนที่ภูมิประเทศ
การหาตําแหนงในแผนที่โดยระบบพิกัดตาราง ใหใชหาโดยใชระบบพิกัดตาราง แบบทรานสเวอรเมอรเคเตอร ซึ่ง
เรียกยอๆ วา ยูทีเอ็ม (UTM) ที่ออกแบบสําหรับใชในแผนที่ทั่วโลกภายในขอบเขต จากละติจูด 80 องศาใต จนถึง 84
องศาเหนือ โดยมีกฎเกณฑที่แนนอนในการใชคาพิกัดตารางแสดงตําบลที่ตางๆ ซึ่งจะไมนํามากลาวในที่นี้ เพราะมุง
หมายจะอธิบายเฉพาะการอานหาพิกัดระบบนี้เทานั้น
9