Page 17 - รายงานการสำรวจและจำแนกพื้นที่ชุ่มน้ำภาคตะวันอออก
P. 17
ลําดับที่ 1182 วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 เนื้อที่ 515,745 ไร ความสําคัญที่จัดเปนพื้นที่ชุมน้ําที่มี
ความสําคัญระหวางประเทศ ไดแก ประกอบดวยพื้นที่ชุมน้ําหลากหลายรูปแบบ เชนปาชายเลน ปา
จากหาดเลน หาดทราย แนวปะการังและแหลงหญาทะเล เปนที่อยูอาศัยของชนิดพันธุที่หายากและอยู
ในสถานภาพถูกคุกคามหลายชนิดพบนกอยางนอย 212 ชนิด โดยหาดเจาไหมเปนแหลงทํารังวางไข
แหงเดียวของนกกระสาคอดําใน (Malay Penisula) มีความหลากหลายของชนิดพันธุพืชและสัตว
นอกจากนี้ยังเปนบริเวณที่มีความหลากหลายของหญาทะเลอยางนอย 8 ชนิด เชน หญาเตา (Thalassia
hemprichii) หญาชะเงาใบขาว (Enhalus acoroides) ระบบนิเวศนี้มีความสําคัญตอสิ่งมีชีวิตอื่นๆ โดย
เปนแหลงอาหาร แหลงหลบภัย แหลงอนุบาลสัตวน้ําวัยออน โดยเฉพาะปลา กุง ปู และพะยูน
(Dugong dugon) พบปลาอยางนอย 75 ชนิด สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก 13 ชนิด สัตวเลื้อยคลาน 39
ชนิด และสัตวเลี้ยงลูกดวยนม 22 ชนิด
8. พื้นที่ชุมน้ําอุทยานแหลงชาติแหลมสน – ปากแมน้ํากระบุรี – ปากคลอง
กะเปอร
เปนปาชายเลนผืนใหญที่สุด ที่เหลืออยูของประเทศไทย และเขตอินโด –
แปซิฟก ตั้งอยูอําเภอเมืองจังหวัดระนอง ประการเปนพื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศ
ลําดับที่ 1183 วันที่ 14 สิงหาคม 2545 เนื้อที่ 677,625 ไร ความสําคัญที่จัดเปนพื้นที่ชุมน้ําระหวาง
ประเทศ เปนพื้นที่ชุมน้ําที่ประกอบดวยระบบนิเวศพื้นที่ชุมน้ําหลายแบบผสมผสานกัน ไดแก หาด
เลน หาดทราย แหลงปะการัง แหลงหญาทะเล และปาชายเลนดึกดําบรรพที่สุด มีความสมบูรณมาก
แหงหนึ่งของประเทศ สามารถพบตนโกงกสงขนาดใหญที่มีอายุมากกวา 300 ป เปนแหลงที่อยูอาศัย
ของชนิดพันธุที่อยูในสถานภาพใกลสูญพันธุอยางยิ่ง คือ นกยางจัน (Egretta eulophotes) สถานภาพ
ใกลถูกคุกคาม คือ เหยี่ยวแดง (Haliaturindus) เหยี่ยวหนาเทา (Butastus indicus) และสถานภาพมี
แนวโนมใกลสูญพันธุ คือนกกระเต็นใหญปกสีน้ําตาล (Haleyon amauroptera) เปนแหลงที่มีความ
หลากหลายทางชีวภาพสูงมาก พบนกอยางนอย 50 ชนิด สัตวที่อาศัยอยูหนาดินและในดิน 77 ชนิด
ปลามากกวา 82 ชนิด พบแหลงหญาทะเลในบานบางจากและบานหาดทรายดํา
9. พื้นที่ชุมน้ําอุทยานแหงชาติหมูเกาะอางทอง
ประกอบดวยเกาะตางๆ 42 เกาะ ที่มีขนาดเล็กและขนาดกลางอยูเปนกลุม
เกาะกลางทะเลในแนวเหนือ – ใต เปนเขาหินปูนสูงชันตั้งอยู อําเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี
11