Page 12 - รายงานการสำรวจและจำแนกพื้นที่ชุ่มน้ำภาคตะวันอออก
P. 12

ไดจัดใหมีการประชุมสมัชชาภาคมาแลว 9 ครั้ง การประชุมสมัชชาภาคีสาระพิเศษ 1 ครั้ง ณ ประเทศ

                  ฝรั่งเศส  เมื่อป  พ.ศ. 2525 (  ค.ศ. 1982)  เพื่อตกลงโปรแกรมและงบประมาณในการดําเนินการตาม

                  อนุสัญญา  ในการประชุมครั้งนี้ไดมีการรางพิธีสารขึ้นมาแกไขความบางตอนในอนุสัญญาฯ  เรียกวา

                  “พิธีสารปารีส” (Paris Protocol) โดยสมัยการประชุมที่ผานมามีดังนี้
                       ครั้งที่ 1  ที่เมือง Cagliari ประเทศอิตาลี ป พ.ศ. 2523 (ค.ศ.1980)

                       ครั้งที่ 2  ที่เมือง Groringen ประเทศเนเธอรแลนด ป พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) มีการประชุมรับ

                  พิธีสารปารีส  และบังคับใช  รวมถึงมีการรับรองบทแกไขอนุสัญญา (amedment)  ที่เสนอในคราว
                  ประชุมวาระพิเศษ

                       ครั้งที่ 3  ที่เมือง Regina, Saskatchewan ประเทศแคนาดา ป พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987)  ไดมีการ

                  แกไขความบางตอนในอนุสัญญาอีกครั้ง เรียกวา “ Regina Amendment” คือในมาตรา 6 และ 7 แตยัง
                  ไมมีผลบังคับใช

                       ครั้งที่ 4  ที่เมือง Montreux ประเทศ สวิสเซอรแลนด ป พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990)

                       ครั้งที่ 5  ที่เมือง kushiro  ประเทศญี่ปุน  ป  พ.ศ. 2536 (ค.ศ.1993)  มีการรับรองบทแกไข
                  อนุสัญญา  ตามที่แกไขในคราวประชุมครั้งที่ 3  ทําใหมีผลบังคับใชโดยไดรับการสนับสนุนดาน

                  การเงินจากประเทศที่สมัครใจหรือองคกรที่สนใจ

                       ครั้งที่ 6  ที่เมือง Brisbone ประเทศออสเตรเลีย ป พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996)ที่ประชุมมีมติยอมรับ

                  ถึงความสําคัญของพันธุปลาและการทําการประมงวาสามารถใชเปนเงื่อนไขหนึ่งในการกําหนดพื้นที่
                  ชุมน้ําเปน Ramsar Site รับรองแผนกลยุทธ  ป พ.ศ. 2540 – 2545 (Strategie Plan 1997- 2002) และ

                  รับรองความรวมมือกันระหวาง  อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพกับอนุสัญญาแรมซาร

                  ในการประชุมครั้งนี้ประเทศไทยไดเขารวมประชุมในฐานะผูเขารวมสังเกตการณ กอนเขารวมลงนาม
                       ครั้งที่ 7  ที่เมือง San Jose  ประเทศคอสตาริกา วันที่ 10-18 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 2002)

                  ที่ประชุมมีมติรับรอง Outreach Programe  ซึ่งเปนแผนงานที่จัดทําขึ้นเพื่อเรงรัดการเสริมสรางความ

                  ตระหนัก  ในคุณคาและบทบาทพื้นที่ลุมน้ําในสังคม  ในการประชุมครั้งนี้ประเทศไทยไดเขารวม

                  ประชุมในฐานะประเทศภาคีเปนครั้งแรก หลังทําการลงนาม
                       ครั้งที่ 8  ที่เมืองวาเลนเซีย ประเทศสเปน วันที่ 18 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) ที่

                  ประชุมมีมติ  รับรองขอมติรับรองรวม 46  เรื่อง  แบงเปน 5  กลุม  ไดแก  ความทาทายและการสราง

                  โอกาสสําหรับพื้นที่ชุมน้ําคือน้ําและความยั่งยืน การสํารวจสภาพและการประเมินสถานภาพของพื้นที่
                  ชุมน้ํา  พื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศ  การจัดการพื้นที่ชุมน้ําเพื่อการใชประโยชนอยาง

                  ยั่งยืนและความอยูดีของมวลมนุษยชาติ  และการใชวัฒนธรรม  ประเพณี  เปนเครื่องชวยสําหรับการ








                                                            6
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17