Page 13 - รายงานการสำรวจและจำแนกพื้นที่ชุ่มน้ำภาคตะวันอออก
P. 13

อนุรักษและการใชประโยชนอยางชาญฉลาด  มีมติที่สําคัญไดแก  เรื่องพื้นที่ชุมน้ําและการเกษตร  การ

                  แปรสภาพภูมิอากาศ  ประเด็นของวัฒนธรรมประเพณี  การจัดการน้ํา  แผนกลยุทธของอนุสัญญาฯ  ป

                  พ.ศ. 2546 – 2551 และแผนการบริหารงบประมาณสําหรับป พ.ศ. 2546- 2549 และแผนประเมิน

                       ครั้งที่ 9  ที่กรุงคัมพาลา สาธารณรัฐยูกันดา วันที่ 8 – 15  พฤศจิกายน พ.ศ.2548 (ค.ศ. 2005)
                  ไดพิจารณารางขอมติ 27 ขอ และมีการรับรองขอมติ 25 ขอ โดยถอดรางมติเรื่องพื้นที่ชุมน้ําของแถบ

                  อารกติกออก และนํารางมติเรื่อง Transboundary และ Transnational Ramsar Site  มาพิจารณาในการ

                  ประชุมครั้งที่ 10 มีมติที่สําคัญไดแก การใชประโยชนทรัพยากรประมงอยางยั่งยืน พื้นที่ชุมน้ําและการ
                  ลดปญหาความยากจน สถานภาพของบัญชีรายชื่อพื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศ บทบาท

                  ของอนุสัญญาฯในการปองกันลดและปรับตัวตอมหันตภัยที่เกิดจากธรรมชาติ  และการใหความสําคัญ

                  ในคุณคาทางวัฒนธรรม ของพื้นที่ชุมน้ํา


                         ประเด็นสําคัญของอนุสัญญาพื้นที่ชุมน้ํา

                                  1.    อนุสัญญาพื้นที่ชุมน้ําไมละเมิดอํานาจอธิปไตยของภาคีซึ่งเปนเจาของ
                                        ดินแดนที่มีพื้นที่ชุมน้ํา

                                  2.    อนุสัญญาพื้นที่ชุมน้ําเปนอนุสัญญาระหวางประเทศที่สงเสริมใหประเทศ

                                        ตางๆมีการอนุรักษและใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ชุมน้ําอยาง
                                        ยั่งยืนโดนเฉพาะอยางยิ่งใหความสําคัญตอการมีสวนรวมของชุมชน

                                  3.    พื้นที่ชุมน้ําที่ไดรับการเสนอชื่อเปนพื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวาง

                                        ประเทศแลวตอมามีความจําเปน  ภาคีสามารถเพิกถอนออกจากทําเนียบหรือ
                                        จํากัดขอบเขตใหมได แตทั้งนี้ตองเสนอพื้นที่อื่นทดแทนดวย

                                  ประเทศไทยไดเขารวมเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ําเปนลําดับที่ 110  ซึ่ง

                  พันธกรณีของอนุสัญญาฯ มีผลบังคับ เมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2541 โดยเสนอพื้นที่ชุมน้ําพรุควนขี้
                  เสี้ยนในเขตหามลาสัตวปาทะเลนอย   เปนพื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศแหงแรกของ

                  ประเทศไทยเปนลําดับที่ 948 ปจจุบันไดมีการประกาศเพิ่มรวมทั้งหมด 10 แหง ไดแก

                                  1.    พื้นที่ชุมน้ําพรุควนขี้เสี้ยนในเขตหามลาสัตวปาทะเลนอย

                                        ลักษณะทั่วไปเปนพื้นที่พรุ ไมเสม็ดขาว มีน้ําทวมขัง พื้นมีกก หญากระจูด
                  กระจูดหนู  ขึ้นอยูอยางหนาแนน  ตั้งอยูทางเหนือสุดของทะเลสาบสงขลาในเขตจังหวัดพัทลุง  ไดรับ

                  ประกาศเปนเขตหามลาสัตวปาทะเลนอย เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2525 มีเนื้อที่ประมาณ 281,625 ไร

                  มีอาณาเขตของผิวน้ํา ประมาณ 20,000 ไร








                                                            7
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18