Page 22 - รายงานการสำรวจและจำแนกพื้นที่ชุ่มน้ำภาคตะวันอออก
P. 22
โดยมาตราสวนของแผนที่อาจเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม และวัตถุประสงคในการนําไปใชงาน
รวมถึงการปรับปรุงและจําแนกพื้นที่ชุมน้ําในระดับชั้น(Class) และชั้นยอย (Sub-class) นั้นรายละเอียด
ปลีกยอย อาจมีการปรับเปลี่ยนไปตามวัตถุประสงคในการนําไปใชประโยชนตอไป
จากการสํารวจจําแนกพื้นที่ชุมน้ําของประเทศไทย กรมพัฒนาที่ดิน ไดปรับปรุงระบบการ
จําแนกพื้นที่ชุมน้ําในป 2536 มาเปนระบบการจําแนกพื้นที่ชุมน้ําป 2543 รวมทั้งไดปรับปรุงรหัส
(Code) ใหงายตอความเขาใจและเปนระบบมากขึ้น
3.2 ระบบการจําแนกพื้นที่ชุมน้ําของประเทศไทยป 2536
การจําแนกพื้นที่ชุมน้ําจัดลําดับชั้นไดเปน 4 ชั้น (ตารางที่ 1) ไดแก
1. ชนิดหรือประเภท (Type)
2. ระบบ (System)
3. ระบบยอย (Sub-system)
4. ชั้น (Class)
แตละลําดับชั้นจะจําแนกเปนโครงสรางลําดับชั้น (Hirachical Structure) ไดดังนี้
1. ชนิดหรือประเภท (Type) จําแนกเปน 2 ชนิด ไดแกชนิดของน้ําจืดและน้ําเค็ม
(Fresh and Salt Water Type) โดยความแตกตางของความเค็มจะสะทอนใหเห็นถึงความแตกตางกัน
ตามชนิด (Species) ของพืชและสัตว การจําแนกชนิดของน้ําเค็มและน้ําจืดใชคาการนําไฟฟาเปน
ตัวชี้วัด คือ
1.1 น้ําจืด (Fresh Water) จะมีคาการนําไฟฟานอยกวา 800 ไมโครโมหที่
25 องศาเซลเซียส หรือความเค็มนอยกวา 0.5 สวนในพัน (Parts Per Thousand :PPT)
1.2 น้ําเค็ม (Salt Water) และคาความเค็มภายในพื้นดิน (Inland Salt Lake) มีคาการนํา
ไฟฟามากกวา 800 ไมโครโมหที่ 25 องศาเซลเซียสหรือความเค็มมากกวา 0.5 สวนในพัน (Parts Per
Thousand :PPT) ยกเวนคาการนําไฟฟาระหวาง 0.5-5.0 PPT หรือ 800-4,500 ไมโครโมหที่ 25 องศาเซลเซียสจะ
เรียกวาน้ํากรอย (Brackish)
16