Page 18 - รายงานการสำรวจและจำแนกพื้นที่ชุ่มน้ำภาคตะวันอออก
P. 18

ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศลําดับที่ 1184  วันที่ 14

                  สิงหาคม พ.ศ. 2548 เนื้อที่ 63,750 ไร ความสําคัญที่จัดเปนพื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศ

                  ประกอบดวยพื้นที่ชุมน้ําหลายรูปแบบ เชน หาดทราย หาดหิน ปาชายเลนและแนวปะการัง เปนแหลง

                  ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตว    โดยบางชนิดจัดเปนพืชพันธุเฉพาะถิ่น   ไดแก
                  กลวยไมนารีชองอางทอง (Paphiopedilum niveum)  สิ่งมีชีวิตที่อยูในสถานภาพใกลสูญพันธุ  ไดแก

                  นกเงือกดํา (Anthracoceros malayanus)  สถานภาพใกลถูกคุกคาม  เชน  นกออก (Haliaectus

                  leucogaster) นกลุมพูขาว (Ducula bicolor) พบสังคมพืชที่ประกอบดวยปาดงดิบแลง ครอบคลุมพื้นที่
                  ของเกาะขนาดใหญ  ปาชายหาดเปนปาโปรงขึ้นบริเวณแคบๆตามชายหาดและเชิงเขาหินปูนซึ่งมีชั้น

                  ดินนอย และปาชายเลนพบอยูนอยมากบริเวณซอกหินที่มีหาดทราย หรือหาดเลน


                                  10.   พื้นที่ชุมน้ําอุทยานแหงชาติอาวพังงา

                                        เปนอาวตื้นลอมรอบดวยปาชายเลนที่ตอเปนผืนใหญในอําเภอเมืองและ

                  อําเภอตะกั่วทุง จังหวัดพังงา  สวนที่เปนหาดเลนมีเนื้อที่ 25,300 ไร ระดับน้ําในอาวคอนขางตื้น
                  ประมาณ 1- 4 เมตร

                                        ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศประกอบดวยเกาะ

                  ประมาณ 42 เกาะ เชน เกาะเขาเตา เกาะพระอาดเฒา เกาะมะพราว เกาะปนหยี เกาะเขาพิงกัน มีความ
                  หลากหลายของระบบนิเวศทั้งชายหาด ปากแมน้ํา ปาชายเลน หาดเลน หนาผา หาดหินและแหลงหญา

                  ทะเลเปนตัวอยางของพื้นที่ชุมน้ําตามธรรมชาติที่เปนแหลงของชนิดพันธุที่มีสถานภาพใกลสูญพันธุ

                  อยางยิ่ง ไดแก พะยูน (Dugong dugon) สถานภาพคุกคามของโลก ไดแก นกหัวโตมลายู (Charadrius
                  peronii) นกฮอมทะเลอกแดง (Limnodromus semipalmatus) สถานภาพใกลถูกคุกคาม เชน นกออก

                  (Haliaeetus leucogastus)



                             ขอดีของประเทศไทยในการเขารวมอนุสัญญาพื้นที่ชุมน้ํา
                             1.   อนุสัญญาฯเปนหนึ่งในกฎหมายระหวางประเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการอนุรักษและ

                  การใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน เชน อนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทางชีวภาพ

                  อนุสัญญาวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก และอนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศซึ่ง
                  ชนิดสัตวปาและพืชปาที่ใกลสูญพันธ (CITES)

                             2.   การเปนภาคีทําใหมีโอกาสเขารวมแสดงความคิดเห็นกับนานาประเทศในการ

                  ประชุมเพื่อพิจารณาหลักเกณฑการอนุรักษและใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ําอยางชาญฉลาด









                                                            12
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23