Page 16 - รายงานการสำรวจและจำแนกพื้นที่ชุ่มน้ำภาคตะวันอออก
P. 16
ของประเทศไทย เชน นกกาน้ําใหญ(Phalacrocora carbo)นกกะสาแดง(Ardea purpurea) และเหยี่ยวดํา
(Milvus migrans) บริเวณเขตหามลาสัตวปาหนองบงคาย พบนก 121 ชนิด เปนนกที่ทําอยูทํารังวางไข
บริเวณนี้อยางนอย 15 ชนิด ในทะเลสาบเชียงแสนพบพืช 185 ชนิด นกทั้งหมด 225 ชนิด และพบปลา
อยางนอย 46 ชนิด
6. พื้นที่ชุมน้ําเขตรักษาพันธุสัตวปาเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนสุดา
ฯ (พรุโตะแดง)
เปนที่ราบลุมน้ําทวมขังซึ่งอยูหางจากชายฝงทะเลเปนแหลงรองรับน้ําจาก
ลุมน้ําตอนบน ทอดขนานไปกับแนวชายฝงทะเลภาคใตดานตะวันออกในระยะหางประมาณ 7
กิโลเมตร พื้นที่ประกอบดวยพรุดั้งเดิม ปาพรุที่กลายสภาพเปนปาเสม็ดและไมพุม และพรุหญา มี
ภูมิอากาศคอนขางรอนและชื้นกวาปาชนิดอื่นครอบคลุมอําเภอเมือง ตากใบ สุไหงโกลก และสุไหงปา
ดี จังหวัดนราธิวาส
ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศ เปนลําดับที่ 1102
วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 เนื้อที่ 125,625 ไร ความสําคัญที่จัดเปนพื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญ
ระหวางประเทศ เปนปาพรุดั้งเดิมผืนใหญที่สุดที่ยังคงเหลืออยูในประเทศไทย และเปนแหลงที่มีความ
หลากหลายทางชีวภาพสูงทั้งพืชและสัตว พบสิ่งมีชีวิตที่อยูในสถานภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุ
สถานภาพใกลสูญพันธุหลายชนิด เชน นกตะกรุม (Leptoptilos javanieus) นกฟนฟุท (Heliopais
personata) นกเปลาใหญ (Teron cepeller) เตาหม (Cuora amboinensis) เตาดํา (Siebenroekiella
crassicollis) ตะโขง (Tomistoma schlegelii) และจระเขน้ํา (Crocodylus porocus) สถานภาพใกลถูก
คุกคามของโลก เชน นกเหยี่ยวหัวปลาใหญหัวเทา (Lchthyophaga ichthyaetus) นกโพระดกหลากสี
(Megalaima raffesii) นกหัวขวานสามนิ้วหลังสีไพร (Dinopium raffesii) นอกจากนี้ยังมีกลุมสังคม
พืชที่ซับซอน ทั้งพืชยืนตน พืชลมลุก เฟนตางๆขึ้นอยูอยางหนาแนน มีพันธุไมเฉพาะถิ่นอยางนอย 50
ชนิด พบนกอยางนอย 217 ชนิด ปลาอยางนอย 62 ชนิด สัตวเลี้ยงลูกดวยนม 59 ชนิด สัตวเลื้อยคลาน
52 ชนิด สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก 19 ชนิด
7. พื้นที่ชุมน้ําอุทยานแหงชาติหาดเจาไหม เขตหามลาสัตวปาหมูเกาะลิบง –
ปากแมน้ําตรัง
ประกอบดวยระบบนิเวศ 3 ลักษณะ คือ แมน้ํา ปากแมน้ํา และชายฝง ตั้งอยู
อําเภอสีเกาและอําเภอกันตัง จังหวัดตรัง ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศเปน
10