Page 14 - รายงานการสำรวจและจำแนกพื้นที่ชุ่มน้ำภาคตะวันอออก
P. 14

ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศ   เมื่อวันที่  26

                  สิงหาคม พ.ศ. 2540 มีเนื้อที่ 3,085.5  ไร มีความสําคัญระหวางประเทศครอบคลุมถึงปาเสม็ดผืนใหญ

                  ที่สุดที่เหลืออยูในประเทศไทย  มีความหลากหลายของระบบนิเวศน้ําจืด  และนกน้ําสูง  ทั้งนกประจํา

                  ถิ่นและนกอพยพ โดยพบนกกาบบัว (Mycteria leucocepphala) ซึ่งเปนนกที่พบวาทํารังวางไขเฉพาะ
                  บริเวณนี้เทานั้น  เปนแหลงใตสุดที่พบเสือปลา (Prionailurus vivervinus)  พบงูกระดาง (Erpeton

                  Tentaculatum)  ซึ่งเปนประชากรที่แยกออกมาจากประชากรอื่นๆ  และนกตะกรุม (Leptoptilos

                  javanicus) ซึ่งเปนนกที่มีสถานภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุจํานวนเพียงเล็กนอยที่อพยพมา


                                  2.    พื้นที่ชุมน้ําเขตหามลาสัตวปาบึงโขงหลวง

                                        ตั้งอยูอําเภอเซกาและอําเภอบึงโขงหลง  จังหวัดหนองคาย  เปนบึงน้ําจืด
                  ลักษณะแคบยาว น้ําในบึงลึกโดยเฉลี่ยประมาณ 50 – 100 เซนติเมตร น้ําในบึงไหลลงสูแมน้ําสงคราม

                  กอนออกแมน้ําโขง  มีเกาะกลางบึง ไดแก ดอนแกว ดอนโพธิ์ ดอนนอง ดอนสวรรค บนเกาะมีปาดิบ

                  แลงที่คอนขางสมบูรณ
                                        ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศ  เปนลําดับที่ 1098

                  วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 มีความสําคัญจัดเปนพื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศ จัดเปน

                  บึงน้ําจืดที่มีขนาดใหญที่สุดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  เปนแหลงที่อยูของสิ่งมีชีวิตที่อยูในสถานภาพมี

                  แนวโนมใกลสูญพันธุและสถานภาพใกลสูญพันธุหลายชนิด  เชน  ปลากางพระรวง (Kryptopterus
                  bichirris)  ปลาดุกดาน (Clarias batrachus)  ปลากัดเขี้ยว (Betta smaragedina)  ปลากัดไทย

                  (B.splendens)  นกกระสานวล (Ardea cinerea)   นกกระสาแด (A. Purpu rea)  เหยี่ยวดํา (Milvus

                  migrans) เปดคับแค (Nettapus coromandelianus) พบเปดดําหัวสีน้ําตาล (Aythya nyroca) ซึ่งพบอยู

                  ในสถานภาพการคุกคามของโลก บึงโขงหลงเปนแหลงอาศัยที่สําคัญสําหรับนกอพยพในฤดูหนาว 33
                  ชนิด เปนแหลงอาหารและแหลงวางไขสําหรับปลาหลายชนิด



                                  3.    พื้นที่ชุมน้ําดอนหอยหลอด
                                        ดอนหอยหลอดเปนพื้นที่ชุมน้ําชายฝงทะเล  ลักษณะดินเกิดจากการทับถม

                  ของตะกอนแมน้ําและตะกอนน้ําบริเวณปากแมน้ําแมกลอง      ทําใหแผนดินขยายออกไปในทะเล
                  บริเวณพื้นที่ตั้งแตแนวชายทะเลลงไปในทะเล ประมาณ 8 กิโลเมตร มีลักษณะผิวพื้นชายฝงราบเรียบ

                  ประกอบดวยตะกอนโคลน  เมื่อน้ําลดจะปรากฏเปนสันดอนทราย  กวางประมาณ 4  กิโลเมตร  ตั้งอยู

                  อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม








                                                            8
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19