Page 20 - รายงานการสำรวจและจำแนกพื้นที่ชุ่มน้ำภาคตะวันอออก
P. 20
บทที่ 3
การจําแนกพื้นที่ชุมน้ํา
3.1 ความเปนมา
ในอดีตพื้นที่ชุมน้ําเปนพื้นที่ที่ถูกละเลย ปลอยทิ้งรางไมไดรับการเอาใจใสหรืออนุรักษไว
จนกระทั่งพื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญลดจํานวนลง เกิดความเสื่อมโทรมในพื้นที่ชุมน้ํา ซึ่งสงผลกระทบ
เกี่ยวเนื่องกันมาทั้งระบบนิเวศ นานาประเทศซึ่งมีการใชประโยชนพื้นที่ชุมน้ํารวมกันไดเล็งเห็น
ความสําคัญ ถึงการอนุรักษไวเพื่อการใชใหยั่งยืน “การอนุรักษพื้นที่ชุมน้ํา (Wetland Conservation)” จึง
ถูกนํามาเสนอเพื่อพิจารณาวาทําไมพื้นที่ชุมน้ําจึงลดลง และพิจารณาหาแนวทางในการปรับปรุงและ
อนุรักษพื้นที่ชุมน้ําเหลานั้น ประเทศไทยไดเห็นถึงความสําคัญของพื้นที่ชุมน้ําและการลดลงของพื้นที่
จึงไดพยายามจําแนกพื้นที่ชุมน้ําขึ้นโดย การจําแนกพื้นที่ชุมน้ําเปนการอธิบายและจัดลําดับความหมาย
ทางระบบนิเวศใหเปนระบบและเปนหมวดหมู เพื่อการนําไปใชประโยชนและสอดคลองกับกรอบที่เปน
ระเบียบแบบแผนในการจัดทําโครงการ ทําแผนที่ การประเมิน และการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา
ประเทศไทยไดเริ่มดําเนินการจําแนกพื้นที่ชุมน้ําครั้งแรกในป พ.ศ. 2529 โดยความรวมมือกัน
ระหวาง องคการอนุรักษนกสากล (International Council for Bird Preservation (ICBP)) สํานักวิจัยนก
น้ําและพื้นที่ชุมน้ําสากล (International Waterfowl and Wetlands Research Bureau - IWBB) และ
กองทุนคุมครองธรรมชาติโลก (World Wide Fund for Nature - WWF) ผลักดันใหมีโครงการสํารวจ
พื้นที่ชุมน้ําเอเชีย (Asian Wetlands Inventory) โดยกรมปาไมไดเขารวมโครงการนี้โดยไดเริ่มทําการ
สํารวจพื้นที่ชุมน้ําในประเทศไทยตั้งแต ป พ.ศ. 2529 และไดรวบรวมขอมูลถึงป พ.ศ. 2530 โดยมีการ
แกไขและจัดทําเอกสารใหมในป พ.ศ. 2532 โดยการจําแนกพื้นที่ชุมน้ําในประเทศไทยจํานวน 41
แหง ใชระบบจําแนกของ AWB (Asian Wetland Burreau) ซึ่งแบงประเภทชุมน้ําได 22 ประเภท
(ตารางภาคผนวกที่ 1) โดยจากรายชื่อพื้นที่ชุมน้ําแตละแหง (ตารางภาคผนวกที่ 2) จะมีลักษณะของ
พื้นที่ชุมน้ําตามการจําแนกของ AWB โดยหลายประเภทอยูรวมกัน
ป 2533 สํานักงานเลขาธิการคณะกรรมาธิการลุมน้ําโขง (Mekong River Commission
Secretariat) ไดมอบหมายใหกรมพัฒนาที่ดินเปนผูประสานงาน ในการศึกษาความเปนไปไดในการ