Page 21 - รายงานการสำรวจและจำแนกพื้นที่ชุ่มน้ำภาคตะวันอออก
P. 21

จัดการพื้นที่ชุมน้ํา พื้นที่ราบลุมแมน้ําโขงตอนลาง (Lower Mekong Basin) ในรัศมี 50 กิโลเมตร จาก

                  ฝงแมน้ําโขง ประเทศที่รวมในโครงการประกอบดวยสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

                  ประเทศไทย และสารธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ซึ่งแตละประเทศจะตองทําการสํารวจ จําแนกและ

                  จัดทําแผนที่แสดงประเภทของพื้นที่ชุมน้ําในประเทศของตนเองแลวนํามาเชื่อมตอกันเปนแผนที่ของ
                  Lower Mekong Basin  ในการจําแนกใชระบบการจําแนกของ DUGAN  (1990)  ซึ่งรับรองโดย

                  อนุสัญญาแรมซาร (ตารางภาคผนวกที่ 3)

                        ป 2536    สํานักงานเลขานุการคณะกรรมาธิการลุมน้ําโขง  ไดจัดประชุมคณะทํางานการสํารวจ

                  จําแนกและจัดทําแผนที่แสดง ประเภทของพื้นที่ชุมน้ําในลุมน้ําโขงตอนลาง ประกอบดวยสาธารณรัฐ

                  ประชาธิปไตยประชาชนลาว ประเทศไทย และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามจัดขึ้นที่ นครเวียงจันทร
                  สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การประชุมมีจุดประสงคที่จะแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นเพื่อหา

                  วิธีการจําแนกพื้นที่ชุมน้ําที่เหมะสมนํามาใชในลุมน้ําโขงตอนลาง จากการประชุมครั้งนั้น

                  คณะทํางานไดนําเสนอผลงานใหกับคณะทํางานฝายไทยและมีความเห็นใหจัดทําระบบการจําแนก
                  พื้นที่ชุมน้ําของประเทศไทยขึ้น ซึ่งใชระบบการจําแนกที่มีความคลายคลึงกับระบบการจําแนกของแรม

                  ซารและลุมน้ําโขงตอนลาง โดยไดพัฒนาและปรับปรุงระบบการจําแนก แบงออกเปน 4 ชั้น ไดแก ชนิด

                  (Type)  ระบบ (System) ระบบยอย (Sub-system) และชั้น (Class)


                        ป 2543  สํานักงานเลขาธิการคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง ใหกรมพัฒนาที่ดิน จัดประชุมเชิง

                  ปฏิบัติงานเรื่องระบบการจัดการพื้นที่ชุมน้ําของประเทศไทย ที่โรงแรมโซฟเทล ราชาออรคิด จังหวัด

                  ขอนแกน เพื่อปรับปรุงระบบการจําแนกพื้นที่ชุมน้ําอยางเปนระบบ งายตอการจัดทําแผนที่      ที่
                  ประชุมจึงไดมีการปรับปรุงระบบการจําแนกพื้นที่ชุมน้ําของประเทศไทย ตั้งแตระดับชนิด (Type)

                  ระบบ (System)  ระบบยอย (Sub-system)  รวมทั้งเพิ่มรายละเอียดในระดับชั้น (Class)  และชั้นยอย

                  (Sub-class) เพื่อใชพิจารณาใหเหมาะสมสําหรับการจัดทําแผนที่ โดยที่ประชุมไดพิจารณามาตราสวนที่
                  เหมาะสมสําหรับใชในการจัดทําแผนที่ ดังนี้


                        ระดับยอย (Sub-system)  ถึงระดับชั้น (Class)  หรือระดับนานาชาติใชมาตราสวนของแผนที่
                  1:1,000,000 หรือเล็กกวา

                        ระดับชั้น (Class) หรือระดับชาติใชมาตราสวนของแผนที่ 1:250,000 - 1:50,000

                        ชั้นยอย (Sub-class) หรือระดับจังหวัด ใชมาตราสวนของแผนที่ 1:50,000 - 1:10,000












                                                            15
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26