Page 11 - รายงานการสำรวจและจำแนกพื้นที่ชุ่มน้ำภาคตะวันอออก
P. 11

ระบายน้ําออกจากพื้นที่เพื่อการเกษตรกรรม การชักน้ําเค็มเขาในแผนดินเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา การ

                  ขุดถมพื้นที่เพื่อการอุตสาหกรรม การขยายเมือง การพัฒนาที่อยูอาศัยและชุมชน การพัฒนาโครงสราง

                  พื้นฐานที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางอุทกวิทยา และการเปลี่ยนแปลงเสนทางน้ํา ตลอดจนการสราง

                  ถนนการพัฒนาการทองเที่ยว  โดยขาดการคํานึงถึงผลกระทบขึ้นกับวิถีชีวิตประจําวันของชุมชนใน
                  ทองถิ่นที่ตองพึ่งพาอาศัยพื้นที่ชุมน้ํา

                                  2.3.3  ปญหาการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา  ทั้งๆที่พื้นที่ชุมน้ํามีความสําคัญ  และมี

                  บทบาทหนาที่มากมาย แตองคกรที่รับผิดชอบทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป ทั้งในเมือง
                  และชนบทปจจุบันยังไมสามารถดําเนินการใหประชาชนสวนใหญเกิดความตระหนักถึงความสําคัญ

                  และความจําเปนที่จะอนุรักษพื้นที่ชุมน้ํา  ตลอดจนขาดความตระหนักถึงบทบาทหนาที่  คุณคาและ

                  คุณประโยชนที่ครบถวนแทจริงของพื้นที่ชุมน้ํา  จึงเปนผลใหขาดความระมัดระวังและใชประโยชน
                  พื้นที่ชุมน้ําอยางไมถูกตองเหมาะสม  มีความไมสอดคลองกับศักยภาพของพื้นที่และขาดการประสาน

                  การปฏิบัติงานระหวางหนวยงานในการจัดการพื้นที่  และในหลายกรณี  กฎหมายขอบังคับที่เกี่ยวของ

                  ไมมีประสิทธิผลในการบังคับใชและไมเอื้ออํานวยตอการจัดการพื้นที่ชุมน้ําอยางยั่งยืน


                  2.4  อนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ํา (Ramsar Convention)

                       อนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ํา ตั้งชื่อตามสถานที่จัดใหมีการประชุมเพื่อรับรองอนุสัญญา วันที่ 2

                  กุมภาพันธ  พ.ศ. 2514  คือเมืองแรมซาร  ประเทศอิหราน  อนุสัญญานี้เปนขอตกลงระหวางรัฐบาลซึ่ง
                  กําหนดกรอบการทํางาน  สําหรับความรวมมือระหวางประเทศ  เพื่อการอนุรักษและยับยั้งการสูญเสีย

                  ของพื้นที่ชุมน้ําในโลก  ซึ่งจะตองมีการจัดการเพื่อใชประโยชนอยางชาญฉลาด  อนุสัญญามีผลบังคับ

                  ใชเมื่อป พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975)  ตามเงื่อนไขวาอนุสัญญาฯ จะมีผลบังคับใชเมื่อมีประเทศตางๆเขา
                  รวมเปนภาคี 7 ประเทศ ขณะนี้นับถึง 17 กันยายน พ.ศ. 2546 มีประเทศตางๆ จากภูมิภาคทั่วโลก รวม

                  ทั้งสิ้น 138 ประเทศ มีพื้นที่ชุมน้ําในทะเบียนพื้นที่ลุมน้ําที่มีความสําคัญระหวางประเทศทั้งสิ้น 1,313

                  แหง รวมพื้นที่ประมาณ 693.56 ลานไร

                       ในระยะแรกการดําเนินงาน      จะมุงเนนที่ความเปนอยูของนกน้ําที่อาศัยในบริเวณพื้นที่ชุมน้ํา
                  ตอมาไดเริ่มใหความสําคัญตอสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศชนิดอื่นๆมากขึ้นโดยไดตระหนักและเห็นถึง

                  คุณคาของพื้นที่ชุมน้ําวามีความสัมพันธกับมนุษยมากขึ้นโดยเฉพาะชุมชนที่ตองพึ่งพาและอาศัยพื้นที่

                  ชุมน้ําทั้งในชีวิตประจําวัน  และการประกอบอาชีพโดยตรงรวมทั้งยังอาศัยพื้นที่ชุมน้ําเปนปราการทาง
                  ธรรมชาติ  ปองกันภัยอันตรายทางธรรมชาติ  เพื่อการดําเนินงานที่เปนไปในทางเดียวกัน  อนุสัญญาฯ

                  ระบุไววาจะตองจัดใหมีการประชุมปกติ (Ordinary session) ในทุกๆ 3 ป สํานักเลขาธิการอนุสัญญาฯ








                                                            5
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16