Page 7 - รายงานการสำรวจและจำแนกพื้นที่ชุ่มน้ำภาคตะวันอออก
P. 7

บทที่ 1

                                                             บทนํา


                       1.1  หลักการและเหตุผล


                                พื้นที่ชุมน้ําที่มีความผูกพันกับสังคมไทยและเศรษฐกิจของคนไทยมาตั้งแตอดีต

                       นับตั้งแตการตั้งหลักแหลงของคนไทยในระยะแรกมักอยูใกลแหลงน้ํา เพื่อใชประโยชนในการ
                       ประกอบอาชีพ รวมทั้งเปนแหลงอาหาร แหลงน้ํา และการคมนาคมขนสง ในอดีตพื้นที่ชุมน้ํายังไม

                       เปนที่รูจัก มักจะหมายถึง บริเวณที่ไมใชผลผลิตหรือผืนดินที่ไมมีความอุดมสมบูรณเต็มไปดวย

                       แหลงแมลงพาหะที่ทําใหเกิดโรคระบาด หรือที่อยูอาศัยของพวกจระเข ภายหลังพื้นที่เหลานี้ไดถูก
                       คุกคามเพื่อใชประโยชนทางการเกษตร ทําการประมง  หรือถมที่เพื่อทําเปนแหลงพักผอน และสราง

                       เปนชุมชนขึ้น

                                จากการลดลงของพื้นที่ชุมน้ําซึ่งทําใหเกิดผลกระทบทางชีวนิเวศทั้งระบบจากดินแมน้ํา
                       ถึงทายน้ํา การเกิดปญหาน้ําทวม ซึ่งไมมีพื้นที่รองรับน้ํา ทําใหเกิดความตระหนักถึงความสําคัญของ

                       พื้นที่ชุมน้ําขึ้นในประเทศไทยไดใหความสําคัญกับพื้นที่ชุมน้ํา โดยใหสัตยาบันเขารวมเปนภาคี

                       อนุสัญญาวาดวยพื้นที่ชุมน้ําในป 2541 โดยมีการประกาศใหมีพื้นที่ชุมน้ําที่มีความสําคัญระหวาง
                       ประเทศ (Ramsar  Sit)  ในจํานวน 10 แหง รวมถึงมีแผนพัฒนาที่จะจัดการกับพื้นที่ชุมน้ําโดยการมี

                       สวนรวมของชุมชนในประเทศ การอนุรักษใชพื้นที่ชุมน้ําอยางยั่งยืนและการคุมครองพื้นที่ชุมน้ํา

                       ภายในประเทศ

                                ปจจุบันประเทศไดตระหนักถึงความสําคัญของพื้นที่ชุมน้ํารวมถึงความพยายามที่จะ
                       จัดการอนุรักษและคุมครองพื้นที่ชุมน้ําอื่นๆ ปญหาหนึ่งที่ทําใหการจัดการพื้นที่ชุมน้ํายังคงไม

                       กาวหนา เนื่องจากการขาดฐานขอมูลพื้นที่ชุมน้ํา ทําใหไมทราบวาพื้นที่ชุมน้ําอยูบริเวณใดของ

                       ประเทศบาง รวมถึงการบุกรุกเพื่อทําการเกษตรในพื้นที่ชุมน้ํา เปนปญหาใหญในเรื่องการลดลงของ
                       พื้นที่ชุมน้ํา ซึ่งพื้นที่ชุมน้ําธรรมชาติขนาดเล็กที่ถูกมองขามนั้น จะเปนแหลงน้ํารวมถึงแหลงรองรับ

                       น้ําในลักษณะแกมลิง สามารถชวยรับน้ําในขณะที่มีน้ําลนตลิ่งและแกปญหาน้ําทวมได หากจัดการให

                       เปนระบบในฐานขอมูลก็จะสามารถนําไปใชในการปองกันเพื่อไมใหถูกบุกรุกได พื้นที่ชุมน้ํา

                       ลักษณะนี้ก็จะคงอยูและเปนพื้นที่รองรับน้ํา ชวยปองกันน้ําทวม รวมถึงรองรับตะกอนและสารพิษ
                       ตางๆ ใหกับประเทศไทยไดอยางยั่งยืน











                                                                1
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12