Page 39 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 39
29 ชุดดินสกล (Sakon series: Sk)
กลุมชุดดินที่ 49
การจําแนกดิน Loamy-skeletal over fragmental mixed, subactive, isohyperthermic
Petroferric Haplustults
การกําเนิด เกิดจากตะกอนชะมาทับถมบนหินตะกอนเนื้อละเอียดบนพื้นผิวของการเกลี่ยผิว
แผนดิน
สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %
การระบายน้ํา ดี
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชา
การซึมผานไดของน้ํา ชา
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ปาเต็งรัง และถูกนําไปใชเปนวัสดุสําหรับทําถนน
การแพรกระจาย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การจัดเรียงชั้น A-Bt-Bsm-2Bgv(2Cgv)
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินตื้นถึงชั้นดานแข็งของศิลาแลง ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปน
ทราย (ปนกรวดลูกรัง) สีเทาเขมหรือสีน้ําตาลเขม ดินลางเปนดินรวนปนกอนกรวดหรือดินรวนเหนียว
ปนกอนกรวดลูกรัง สีน้ําตาลหรือน้ําตาลแก จะพบแผนศิลาแลงภายใน 50 ซม. จากผิวดิน ซึ่งจะจับตัว
เปนชั้นดานมีขนาดใหญและแข็งจนไมสามารถที่จะเจาะผานได ในบางแหงหนาดินจะถูกชะลางไปจนถึงชั้นแผนศิลาแลง
ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลาง (pH 5.5-7.0) ในดินบนและเปนกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0) ในดินลาง
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 สูง ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง
25-50 ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินอน
ขอจํากัดการใชประโยชน เปนดินตื้น จะพบแผนศิลาแลงขนาดใหญและหนาจนไมสามารถเจาะผานได พบอยู
ภายใน 50 ซม. ซึ่งขัดขวางการเจริญเติบโตของพืช
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน ควรปลอยไวใหเปนปาธรรมชาติ ไมควรจะนํามาใชประโยชนในการเกษตร เพราะ
จะตองใชการจัดการเปนอยางมาก เนื่องจากเปนดินตื้น
31