Page 38 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
P. 38
28 ชุดดินสีคิ้ว (Si Khiu series: Si)
กลุมชุดดินที่ 36
การจําแนกดิน Fine-loamy, mixed, isohyperthermic Typic Rhodustalfs
การกําเนิด เกิดจากตะกอนของหินตะกอนเนื้อหยาบชะมาทับถมบนหินทรายที่มีปูนปน
(calcareous sandstone) บนพื้นผิวของการเกลี่ยผิวแผนดิน
สภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 2-5 %
การระบายน้ํา ดี
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ปานกลาง
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชน ปาเบญจพรรณ ไมสวนใหญเปนปาไผ ปลูกพืชไร
การแพรกระจาย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การจัดเรียงชั้น A-Bt-BCcn
ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึก ดินบนเปนดินรวนปนทราย สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม
ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย สีน้ําตาลปนแดงหรือสีแดงเขม จะพบกอนเหล็กและแมงกานีส
สะสมและกอนหินปูนสะสม ในระดับความลึกที่ต่ํากวา 120 ซม. จากผิวดิน จะพบชั้นหินทรายที่มีปูน
ปน ในระดับความลึก 1.5-2.5 เมตร ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ในดิน
บนและเปนกรดจัดถึงเปนดางปานกลาง (pH 5.5-8.0) ในดินลาง
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินวาริน
ขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณต่ํา เนื้อดินคอนขางเปนทราย
ขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปลูกพืชไร ควรปรับปรุงบํารุงดินโดยใชปุยหมัก ปุยคอก และปุยเคมี เพื่อเพิ่มผลผลิต
และเพิ่มความอุดมสมบูรณของแรธาตุในดินและปรับปรุงสมบัติทางกายภาพใหดีขึ้น
30