Page 22 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 22
10 ชุดดินชุมพร (Chumphon series: Cp)
กลุมชุดดินที่ 45
การจําแนกดิน Clayey-skeletal, kaolinitic, isohyperthermic Typic Paleudults
การกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมอยูบนพื้นที่ราบตะกอนน้ําพา (ตะพักลําน้ําเกา )
สภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-12 %
การระบายน้ํา ดีถึงดีปานกลาง
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน เร็ว
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลางในดินบนและชาในดินลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ยางพารา ปาลมน้ํามัน ที่รกรางวางเปลาเปน
หยอมๆ และปาแคระ
การแพรกระจาย พบทั่วไปทางภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก
การจัดเรียงชั้น A-Bw-Btc
ลักษณะและสมบัติดิน ดินตื้นถึงชั้นลูกรัง ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย มีสีน้ําตาล
ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวนปนดินเหนียว
ถึงดินเหนียวปนลูกรังมาก มีสีน้ําตาล สีแดงปนเหลือง (ชั้นลูกรังพบภายใน 50 ซม.) อาจพบจุด
ประสีเล็กนอยในดินลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 4.5-6.5)
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินคลองชาก และชุดดินสวี
ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน ดินตื้นถึงชั้นลูกรัง ความอุดมสมบูรณต่ําและขาดแคลนน้ํา
ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน ไมคอยเหมาะสมสําหรับปลูกไมผลและพืชไร เหมาะสมปานกลางสําหรับ
ปลูกยางพารา ปาลมน้ํามัน มีขอจํากัดปานกลางที่เปนดินตื้น ความอุมสมบูรณต่ํา ขาดแคลนน้ําและในพื้นที่ลาดชัน งาย
ตอการถูกชะลางพังทลายสูญเสียหนาดิน ควรมีปรับปรุงดินพืชปุยสดหรือปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมักหรือปุยคอก
รวมกับการใชปุยเคมีและปุยอินทรียน้ํา พด.2 ปลูกพืชคลุมดินหรือพืชปุยสดระหวางแถวยางพารา ทําแนวรั้วหญาแฝกหรือ
ฐานหญาแฝกเฉพาะตน พัฒนาแหลงน้ําและระบบใหน้ําในแปลงปลูกพืช เพื่อไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา
12