Page 23 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 23
11 ชุดดินไชยา (Chaiya series: Cya)
กลุมชุดดินที่ 17
การจําแนกดิน Fine-loamy, siliceous, subactive, nonacid, isohyperthermic
Fluvaquentic Endoaquepts
การกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมอยูบนตะกอนทะเลหรือตะกอนน้ํากรอยบริเวณ
พื้นที่ราบชายฝงทะเล
สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-1 %
การระบายน้ํา เลว
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชา
การซึมผานไดของน้ํา ชา
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ทํานา
การแพรกระจาย พบทั่วไปในที่ลุมต่ําชายฝงทะเลภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาค
ตะวันออก
การจัดเรียงชั้น Apg-Bg-2Bg2-2Cg
ลักษณะและสมบัติดิน ดินรวนละเอียดลึกมาก เนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย มีสีน้ําตาล
ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย มีสี
เทา มีจุดประสีน้ําตาล สีเหลืองและดินลางชั้นถัดไปเปนชั้นดินสลับที่มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวน
มีสีเทา มีจุดประสีเหลือง สีน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 7.0-8.0)
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินชลบุรี และชุดดินโคกเคียน
ขอจํากัดในการใชประโยชนที่ดิน ความอุดมสมบูรณต่ํา เนื้อดินเปนดินปนทรายและขาดแคลนน้ํา
ขอเสนอแนะการใชประโยชนที่ดิน เหมาะสมปานกลางสําหรับทํานา มีขอจํากัดปานกลางที่มีเนื้อดินเปนดินปน
ทรายและความอุดมสมบูรณต่ํา ควรมีการปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดรวมกับการใชปุยเคมีและปุยอินทรียน้ํา พด.2 พัฒนา
แหลงน้ําไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา
13