Page 21 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 21
9 ชุดดินฉลอง (Chalong series: Chl)
กลุมชุดดินที่ 34
การจําแนกดิน Fine-loamy, kaolinitic, isohyperthermic Typic Kandiudults
การกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวอยูกับที่ และ/หรือ เคลื่อนยายมาเปนระยะทาง
ใกลๆ โดยแรงโนมถวงของหินแกรนิต (พบในสภาพพื้นที่ที่เปนหินแกรนิต)
สภาพพื้นที่ คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 1-12 %
การระบายน้ํา ดี
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน เร็ว
การซึมผานไดของน้ํา ปานกลาง
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปลูกยางพารา ปาลมน้ํามัน พืชไร ไมยืนตน
และไมผล
การแพรกระจาย พบทั่วไปในภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออกของประเทศ
การจัดเรียงชั้น Ap-BA-Bt
ลักษณะและสมบัติดิน ดินรวนละเอียดลึกมาก ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย มีสีน้ําตาล
ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง (pH 4.5-6.0) ดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปน
ทราย มีสีน้ําตาลปนเหลืองและดินชั้นลางถัดไป อาจพบดินเหนียวปนทราย ปฏิกิริยาดินเปนกรด
จัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5) ตลอดหนาตัดดิน
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินคลองนกกระทุง ชุดดินควนกาหลง และชุดดินทาแซะ
ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน ความอุดมสมบูรณต่ํา พื้นที่มีความลาดชัน หนาดินงายตอการถูกชะลาง
พังทลาย และขาดแคลนน้ําในฤดูแลง
ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน เหมาะสมดีในการปลูกยางพารา ปาลมน้ํามัน ไมยืนตน และสวนผลไม มี
ขอจํากัดเล็กนอยที่ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา ควรมีการปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดหรือปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมักหรือปุย
คอกรวมกับปุยเคมีและปุยอินทรียน้ํา พด.2 สภาพพื้นที่มีความลาดชัน มีระบบอนุรักษดินและน้ํา เชน ปลูกพืชคลุมดิน แนว
รั้วหญาแฝกหรือฐานหญาแฝกเฉพาะตน พัฒนาแหลงน้ําและระบบใหน้ําในแปลงปลูกพืชเพื่อไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา
11