Page 17 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 17

5   ชุดดินบานทอน (Ban Thon series: Bh)



                                  กลุมชุดดินที่   42
                                  การจําแนกดิน  Sandy, siliceous, superactive, ortstein, isohyperthermic, Typic
                                  Haplorthods

                                  การกําเนิด    หาดทรายเกาหรือสันทรายเกา (old beach sand or sand dune)
                                  สภาพพื้นที่   คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 1-5 %

                                  การระบายน้ํา                 ดีในดินบนและดีปานกลางถึงคอนขางเลวในดินลาง
                                  การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ปานกลางถึงชา

                                  การซึมผานไดของน้ํา         เร็วในดินบนและชาในดินลาง
                                  พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเสม็ดขาว มะพราว มะมวงหิมพานต และ

                                                  สับปะรด
                                  การแพรกระจาย         พบตามบริเวณหาดทรายเกาหรือสันทรายเกา ตามแนวชายฝงทะเล
                                                 ดานตะวันออกของภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก

                                  การจัดเรียงชั้น       A-E-Bh
                                  ลักษณะและสมบัติดิน  ดินทรายหนาปานกลางถึงชั้นดานอินทรีย   เนื้อดินบนเปนดินทราย

                                  หรือดินทรายปนดินรวนสีเทาหรือสีน้ําตาลปนเทา  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดปานกลาง
                                  (pH 5.5-6.0) ดินลางตอนบนมีสีขาว ชั้นดินลางถัดไประหวางความลึก 50-100 ซม.จากผิวดิน มี
               สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนแดงที่เปนชั้นสะสมฮิวมัสและอะลูมินั่มหรือมีเหล็กดวย  อยูบนชั้นดินที่มีเนื้อดินเปนดินรวน

               ปนทรายหรือดินทรายปนดินรวนมีสีน้ําตาลออนหรือสีเทาปนน้ําตาล  มักมีจุดประสีปนอยูในชั้นดิน  ความสามารถในการ
               อุมน้ําของดินต่ํามาก  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0)

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                  แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25     ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 25-50        ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 50-100       ต่ํา          ต่ํา         ปานกลาง       ปานกลาง           ต่ํา          ต่ํา

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน               ชุดดินบาเจาะ  และชุดดินระยอง
               ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน       ดินทรายจัดที่มีชั้นถูกชะละลายหนา (ไมมีธาตุอาหารเหลืออยูในดิน)  พบ

               ชั้นดานอินทรียแข็งภายในความลึก 100 ซม. จากผิวดิน มีน้ําแชขังในฤดูฝนและขาดแคลนน้ําในฤดูแลง
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน    เหมาะสมดีสําหรับการทําทุงหญาเลี้ยงสัตวและเหมาะสมปานกลางสําหรับ

               ปลูกมะมวงหิมพานต  ไมเหมาะสมสําหรับการปลูกไมผล  มีขอจํากัดที่มีความอุดมสมบูรณต่ํา  มีเนื้อดินเปนดินทรายและ

               ขาดแคลนน้ํา ควรเลือกชนิดพืชที่เหมาะสมมาใชปลูก ปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดหรือปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมักหรือปุย
               คอกรวมกับปุยเคมีและปุยอินทรียน้ํา พด.2 ทํารองระบายน้ํา พัฒนาแหลงน้ําและระบบการใหน้ําในแปลงปลูกพืช เพื่อไว

               ใชในชวงที่พืชขาดน้ํา

                                                                                                             7
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22