Page 26 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 26
14 ชุดดินสุไหงโก-ลก (Su-ngai Golok series: Gk)
กลุมชุดดินที่ 6
การจําแนกดิน Fine, kaolinitic, isohyperthermic Typic Endoaquults
การกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมอยูในบริเวณระหวางเนินเขาที่มีสภาพพื้นที่เปน
หินแกรนิต
สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 %
การระบายน้ํา เลว
การไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชา
การซึมผานไดของน้ํา ชา
พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน นาขาว และพื้นที่ทิ้งราง เชน กก และออ
การแพรกระจาย พบในบริเวณพื้นที่ราบลุมภาคใต
การจัดเรียงชั้น Apg-Btg-BCg
ลักษณและสมบัติดิน ดินเหนียวละเอียดลึกมาก ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนทราย มี
สีเทา ดินลางมีเนื้อดินเปนดินเหนียวปนทราย มีสีเทา มีจุดประสีเหลือง สีน้ําตาล และสีแดง
ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลาง (pH 4.5-6.0) ดินลางถัดไปมีเนื้อดินรวนเหนียว
ปนทรายหรือดินรวนปนทราย มีจุดประสีเหลืองและสีน้ําตาล (มีเนื้อดินเหนียวลดลงมากกวา 20 %
โดยน้ําหนัก จากชั้นที่มีดินเหนียวสูงสุด) ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 6.0-6.5)
ความลึก อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดมสมบูรณ
(ซม.) แคตไอออน ที่เปนประโยชน ที่เปนประโยชน ของดิน
0-25 ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา
25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา
50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา
ชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินทาศาลา
ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน ความอุดมสมบูรณต่ํา และขาดแคลนน้ํา
ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน เหมาะสมดีสําหรับปลูกขาว มีขอจํากัดเล็กนอยที่ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา
ควรมีการปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดรวมกับปุยเคมีและปุยอินทรียน้ํา พด.2 พัฒนาแหลงน้ําและระบบการใหน้ําในแปลง
ปลูกพืช เพื่อไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา
16