Page 19 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 19

7   ชุดดินสายบุรี (Sai Buri series: Bu)



                                กลุมชุดดินที่   17
                                การจําแนกดิน  Fine-silty, kaolinitic, isohyperthermic Aquic Kandiudults

                                การกําเนิด     เกิดจากตะกอนน้ําพามาทับถมอยูบนพื้นที่ราบตะกอนน้ําพาหรือบริเวณสวนต่ําของ

                                                      สันดินริมน้ํา
                                สภาพพื้นที่    คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย มีความลาดชัน 1-5 %

                                การระบายน้ํา                 คอนขางเลวถึงดีปานกลาง

                                การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ชา
                                การซึมผานไดของน้ํา         ชาถึงปานกลาง
                                พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ยางพารา ปาลมน้ํามัน และไมผล บางพื้นที่ใช

                                                      ปลูกพืชผัก

                                การแพรกระจาย         พบทั่วไปในภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก
                                การจัดเรียงชั้น       A-BA-Bt-Btg

                                ลักษระและสมบัติดิน  ดินทรายแปงละเอียดลึกมาก  ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนหรือดินรวนปน

                                ทรายแปง มีสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)
                                ดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปงสีน้ําตาล  และดินชั้นลางถัดไปจะเปนดินรวนเหนียว

               ปนทรายแปงหรือดินเหนียวปนทรายแปง  มีสีเทา  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0)  มีจุดประสีน้ําตาล  สีเหลือง
               ตลอดทุกชั้นดิน


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                  แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25     ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 25-50        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 50-100       ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน               ชุดดินรือเสาะ

               ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน       ความอุดมสมบูรณต่ํา มีระดับใตดินตื้นในฤดูฝน และขาดแคลนน้ําในฤดูฝน
              ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน     เหมาะสมปานกลางสําหรับปลูกขาว  มีขอจํากัดปานกลางที่ขาดแคลนน้ํา

               เหมาะสมปานกลางสําหรับการปลูกยางพารา  ปาลมน้ํามันและไมผล  มีขอจํากัดปานกลางที่มีการระบายน้ําคอนขางเลว
               หรือมีน้ําขังในฤดูฝน  ปลูกขาว  ควรมีการปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดรวมกับปุยเคมีและปุยอินทรียน้ํา  พด.2  เพื่อเพิ่มธาตุ

               อาหารใหกับพืชที่ปลูก  ปลูกไมผลและไมยืนตน  ควรปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมักหรือปุยคอกรวมกับปุยเคมีและปุย
               อินทรียน้ํา  พด.2  และควรมีการทํารองระบายน้ํา  เพื่อไมใหมีน้ําขังในฤดูฝนและลดระดับน้ําใตดิน  พัฒนาแหลงน้ําและ

               ระบบใหน้ําในแปลงปลูก เพื่อไวใชในชวงที่พืชขาดน้ํา



                                                                                                             9
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24