Page 25 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 25

13  ชุดดินฝงแดง (Fang Daeng series: Fd)



                                 กลุมชุดดินที่   34
                                 การจําแนกดิน  Fine-loamy, kaolinitic, isohyperthermic Rhodic Kandiudults

                                 การกําเนิด    เกิดจากการผุพังสลายตัวอยูกับที่ และ/หรือ เคลื่อนยายมาเปนระยะทาง

                                                       ใกลๆ โดยแรงโนมถวงของหินทรายสีแดง (พบในสภาพพื้นที่ที่เปนหินทรายสีแดง)
                                 สภาพพื้นที่   ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-12 %

                                 การระบายน้ํา                ดี

                                 การไหลบาของน้ําบนผิวดิน    เร็ว
                                 การซึมผานไดของน้ํา        เร็ว
                                 พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ยางพารา ปาลมน้ํามัน ไมยืนตนและไมผล

                                 การแพรกระจาย        พบในพื้นที่ภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออก

                                 การจัดเรียงชั้น      Ap-Bt
                                 ลักษณะและสมบัติดิน  ดินรวนละเอียดลึกมาก  ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย  มีสีน้ําตาล

                                 ปนแดงหรือสีแดง  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0)  ดินลางมีเนื้อดินเปน

                                 ดินรวนเหนียวปนทราย  อาจพบดินเหนียวปนทราย  มีสีแดงหรือสีแดงเขม  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัด
                                 มากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)


                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                  แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน
                  0-25     ปานกลาง          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา

                 25-50        ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา
                 50-100       ต่ํา          ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา          ต่ํา


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน               ชุดสะเดา  และชุดดินคลองทอม

               ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน       ความอุดมสมบูรณต่ํา  เนื้อดินเปนดินปนทราย  สภาพพื้นที่มีความลาดชัน
               และขาดแคลนน้ํา

               ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน  เหมาะสมดีสําหรับการปลูกไมยืนตนและไมผล  มีขอจํากัดเล็กนอยที่มีความ
               อุดมสมบูรณต่ํา พื้นที่ลาดชัน หนาดินงายตอการถูกชะลางพังทลาย ควรมีการปรับปรุงดินดวยพืชปุยสดหรือปรับปรุงหลุม

               ปลูกดวยปุยหมักหรือปุยคอกรวมกับปุยเคมีและปุยอินทรียน้ํา  พด.2  มีระบบอนุรักษดินและน้ํา  เชน  ปลูกพืชคลุมดิน  ทํา

               แนวรั้วหญาแฝกหรือฐานหญาแฝกเฉพาะตน  พัฒนาแหลงน้ําและระบบการใหน้ําในแปลงปลูกพืช  เพื่อไวใชในชวงที่พืช
               ขาดน้ํา








                                                                                                            15
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30