Page 18 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 18

6   ชุดดินบึงชะนัง (Bung Chanang series: Bng)



                                กลุมชุดดินที่   52
                                การจําแนกดิน  Fine, mixed, superactive, isohyperthermic Fluventic Eutrudepts

                                การกําเนิด     เกิดจากการสะสมของมารล

                                สภาพพื้นที่    คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-12 %
                                การระบายน้ํา                 ดี

                                การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     เร็ว

                                การซึมผานไดของน้ํา         ปานกลาง
                                พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาดงดิบชื้น บางพื้นที่เปดปาเพื่อปลูกพืชไรและ
                                                                    ไมผล เชน มันสําปะหลัง ออย และมะละกอ

                                การแพรกระจาย         พบตามแนวชายฝงทะเลภาคตะวันออก

                                การจัดเรียงชั้น       A-Bw-Ck
                                ลักษณะและสมบัติดิน  ดินเหนียวตื้นถึงชั้นมารล  ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือ

                                ดินเหนียว  มีสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนแดง  ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง (pH

                                6.5-8.0)  ดินลางมีเนื้อดินเปนดินเหนียว  มีสีน้ําตาลปนแดงหรือสีแดงปนเหลือง  ปฏิกิริยาดินเปน
                                กลางถึงเปนดางจัด (pH 7.0-8.5) อยูบนชั้นที่มีกอนหินปูนมาก (secondary lime nodule) ภายใน

               ความลึกประมาณ 50 ซม. จากผิวดิน

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                  แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25        สูง           สูง            สูง            ต่ํา           สูง            สูง
                 25-50        สูง           สูง            สูง            ต่ํา           สูง            สูง

                 50-100    ปานกลาง          สูง            สูง            ต่ํา           สูง         ปานกลาง

               ชุดดินที่คลายคลึงกัน               ชุดดินตาคลี  และชุดดินลํานารายณ

               ขอจํากัดการใชประโยชนที่ดิน       ดินตื้นถึงชั้นมารลหรือกอนปูน  สภาพพื้นที่มีความลาดชัน  มักขาดแคลนน้ํา

               ในชวงเพาะปลูก
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน  เหมาะสมดีมากสําหรับการปลูกพืชไร เหมาะสมปานกลางสําหรับปลูกไมผล

               และไมยืนตน  มีขอจํากัดปานกลางที่มีชั้นมารลหรือกอนปูนตื้น  ควรเลือกชนิดพืชที่เหมาะสมมาใชปลูก  มีการปรับปรุงดิน
               ดวยพืชปุยสดหรือปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมักหรือปุยคอกรวมกับปุยอินทรียน้ํา  พด.2  เพื่อรักษาความสามารถในการ

               ผลิตของดินและเพิ่มธาตุอาหารใหกับพืชที่ปลูก  มีมาตราการอนุรักษดินและน้ํา  เชน  ปลูกพืชคลุมดิน  ปลูกพืชหมุนเวียน
               ทําแนวรั้วหญาแฝกหรือฐานหญาแฝกเฉพาะตน  พัฒนาแหลงน้ําและระบบใหน้ําในแปลงปลูกพืช  เพื่อไวใชในชวงที่พืช

               ขาดน้ํา



                                                                                                             8
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23