Page 24 - ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคใต้ และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย
P. 24

12  ชุดดินเชียรใหญ (Chian Yai series: Cyi)



                                กลุมชุดดินที่   10
                                การจําแนกดิน  Fine, mixed, superactive, acid, isohyperthermic Haplic Sulfaquents
                                การกําเนิด     เกิดจากตะกอนทะเลในพื้นที่น้ําทะเลเคยทวมถึงหรือบริเวณขอบๆ พื้นที่พรุ

                                สภาพพื้นที่    แองหรือพื้นที่พรุ (depression or swampy area) มีความลาดชัน 0-1 %
                                การระบายน้ํา                 เลวมาก

                                การไหลบาของน้ําบนผิวดิน     ชา
                                การซึมผานไดของน้ํา         ชา

                                พืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเสม็ดและนาขาว

                                การแพรกระจาย         พบทั่วไปในบริเวณพื้นที่ลุมต่ําหรือพื้นที่พรุชายฝงทะเลของภาคใต
                                การจัดเรียงชั้น       Ag-(Oi-Ag)-Cg
                                ลักษณะและสมบัติดิน  ดินเหนียวละเอียดลึกมาก  ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนทราย

                                แปงปนเศษพืช (หรือมีชั้นดินอินทรียบางๆ  สีน้ําตาลเขมทับอยูดานบน)   มีสีเทา  ปฏิกิริยาดินเปน
                                กรดจัดมาก (pH 4.5-5.0)  ดินลางมีเนื้อดินเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง มีสีเทา มี  จุด
                                ประสีน้ําตาล ดินลางชั้นถัดไปถายในความลึก 50 ซม. จากผิวดิน เปนดินเลนสีเทาหรือสีเทาปนน้ํา

                                เงินของตะกอนน้ําทะเลที่มีสารประกอบกํามะถันมาก (pyrite: FeS ) ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึง
                                                                                    2
                                เปนกลาง (pH 6.5-7.0)  มีศักยภาพเปนดินเปรี้ยวจัดหรือดินกรดกํามะถัน เมื่อถูกทําใหแหง

                ความลึก    อินทรียวัตถุ  ความจุแลกเปลี่ยน ความอิ่มตัวเบส   ฟอสฟอรัส   โพแทสเซียม  ความอุดมสมบูรณ
                  (ซม.)                  แคตไอออน                     ที่เปนประโยชน  ที่เปนประโยชน   ของดิน

                  0-25        สูง           สูง            ต่ํา           สูง            สูง            สูง
                 25-50        สูง           สูง            ต่ํา        ปานกลาง        ปานกลาง        ปานกลาง

                 50-100       สูง           สูง            ต่ํา           ต่ํา           ต่ํา        ปานกลาง


               ชุดดินที่คลายคลึงกัน               ชุดดินระแงะ  และชุดดินตะกั่วทุง

               ขอจํากัดในการใชประโยชนที่ดิน     ดินเปรี้ยวจัดระดับตื้น  มีธาตุอะลูมิเนียม  เหล็กและแมงกานีสถูกละลาย

               ออกมามากจนเปนพิษตอพืช ธาตุฟอสฟอรัสถูกตรึงพืชดูดไปใชไมได และมีน้ําแชขังนานในรอบป
               ขอเสนอแนะในการใชประโยชนที่ดิน  ไมคอยเหมาะสมสําหรับปลูกขาว  มีขอจํากัดรุนแรงที่ดินเปนกรดรุนแรงมาก
               ควรมีการปรับปรุงดินดวยวัสดุปูนตามความตองปูนของดิน  รวมกับการไถกลบพืชปุยสดและปุยอินทรียน้ํา  พด.2  พัฒนา

               แหลงน้ําจืดไวใชในชวงที่พื้นขาดน้ํา  ควบคุมและลดความเปนกรดของดิน  สวนบริเวณที่เปนปาเสม็ด  ควรจะรักษาสภาพ
               ปาไว ไมควรนํามาใชประโยชนทางการเกษตร เนื่องจากดินมีศักยภาพคอนขางต่ําและยากตอการจัดการที่ดิน











                                                                                                            14
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29