Page 38 - การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตพืชในพื้นที่ ลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนที่ 2 ปีการผลิต 2541/42
P. 38

29





                  เฉลี่ยไรละ 54.94 บาท  นอกจากนี้ยังมีคาใชจายที่เปนตนทุนผันแปรอื่นๆ ไดแก คาขนสงผลผลิตและ

                  คาน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อการขนสง (กรณีใชยานพาหนะของตนเอง)  คาเสียโอกาสเงินลงทุน และคาดอกเบี้ย

                  เงินกูระยะสั้น ดังนั้นจะมีตนทุนผันแปรรวมทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 6,338.54 บาท ในสวนของตนทุนคงที่
                  ทั้งที่เปนเงินสดและไมเปนเงินสดเกษตรกรจะมีตนทุนคงที่รวมทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 352.25 บาท โดยสวนใหญ

                  จะเปนตนทุนคงที่ที่ไมเปนเงินสด ไดแก คาใชที่ดินเฉลี่ยไรละ 319.93 บาท คาเสื่อมเครื่องมือและอุปกรณ

                  การเกษตรเฉลี่ยไรละ 29.32 บาท สวนตนทุนคงที่ที่เปนเงินสดมีเพียงอยางเดียว คือ คาภาษีที่ดินเฉลี่ยไรละ
                  3.00 บาท สําหรับการผลิตปาลมน้ํามันชวงอายุ 17-21 ป ในหนวยที่ดินที่ 26B นี้ เมื่อพิจารณาถึงผลตอบแทน

                  เหนือตนทุนที่เปนเงินสดแลวจะพบวาเกษตรกรมีผลตอบแทนเหนือตนทุนที่เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ

                  4,381.14  บาท  แตเมื่อศึกษาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมดแลวปรากฏวาเกษตรกรจะมี
                  ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ยไรละ 3,609.24  บาทและจะไดรับผลตอบแทนจากการลงทุนทั้งหมด

                  เฉลี่ยไรละ 3,256.99 บาท  สําหรับปญหาในการผลิตปาลมน้ํามัน  สวนใหญจะมีปญหาคลายคลึงกับการ

                  ผลิตปาลมในหนวยที่ดินอื่นๆ ในพื้นที่ลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันตกสวนที่ 2 ไดแก ปญหาจากราคา
                  ผลผลิตตกต่ํา ปจจัยการผลิตมีราคาสูง การขาดแคลนแรงงานและศัตรูพืชรบกวน (ตารางที่ 7  30  31 และ 39)


                  หนวยที่ดินที่ 26C

                             ยางพาราอายุ 9-13 ป พันธุRRIM600 (ยางแผน)  เกษตรกรมีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ยครอบครัว

                  ละ 12.35 ไดผลผลิตประมาณไรละ 170.93 กิโลกรัม คิดเปนมูลคาผลผลิตทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 2,815.22 บาท
                  จากราคาผลผลิตที่ไดเฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.47  บาท  ผลผลิตที่ไดจะขายรอยละ 85.82  ที่เหลืออีกรอยละ

                  14.18  จะจายเปนคาจางแรงงานในการทํายางพารา  สถานที่ขายผลผลิตของเกษตรกรรอยละ 97.57

                  ขายที่บานและขายที่ผูรับซื้อเพียงรอยละ 2.43  เทานั้น  สวนพอคาที่รับซื้อผลผลิตเปนพอคาในทองถิ่น
                  รอยละ 91.24 และพอคาในเมืองรอยละ 8.76 เกษตรกรที่ปลูกยางพาราอายุ 9-13 ป ใชตนทุนในการ

                  เพาะปลูกทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 2,413.31  บาท  ซึ่งประกอบดวยตนทุนผันแปรและตนทุนคงที่ทั้งที่เปนเงินสด

                  และไมเปนเงินสด ตนทุนผันแปรสวนใหญ ไดแก คาแรงงานคนเฉลี่ยไรละ 1,502.92 ซึ่งเปนแรงงานจาง
                  ที่เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ 447.30  บาท  เปนแรงงานของตนเองและคนในครอบครัวเฉลี่ยไรละ 1,055.62  บาท

                  คาจางแรงงานคนที่ใชเปนคาจางกรีดยางมากที่สุด รองลงมาเปนการเก็บน้ํายาง ทําแผน กําจัดวัชพืช ใสปุย

                  ตามลําดับ คาแรงงานเครื่องจักรเฉลี่ยไรละ 78.66  บาท ใชตัดหญาและพนยาปราบวัชพืช  คาวัสดุปจจัย
                  การเกษตร เชน คาปุยเคมีคิดเปนมูลคาเฉลี่ยไรละ 129.43 บาท  ปุยที่ใชมีอยู 2 ชนิด ไดแก ปุยเคมีสูตร

                  15-15-15 ไรละ 10.24 กิโลกรัม และปุยเคมีสูตร 14-8-5 ไรละ 1.19 กิโลกรัม คายาปราบวัชพืชคิดเปน

                  มูลคาเฉลี่ยไรละ 29.24 บาท เปนยาน้ํา คาแกส คาน้ํากรดสําหรับผสมกับน้ําเพื่อทํายางแผน คายาทาหนายาง

                  เพื่อกันเชื้อราและคาวัสดุสิ้นเปลืองอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีคาใชจายที่เปนตนทุนผันแปรอื่นๆ ไดแก คาซอมแซม
                  อุปกรณการเกษตร คาขนสงผลผลิตและคาน้ํามันเชื้อเพลิงเพื่อการขนสง (กรณีใชยานพาหนะของตนเอง)

                  คาเสียโอกาสเงินลงทุนและคาดอกเบี้ยเงินกูระยะสั้น   ดังนั้นจะมีตนทุนผันแปรรวมทั้งหมดเฉลี่ยไรละ
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43