Page 35 - การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตพืชในพื้นที่ ลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนที่ 2 ปีการผลิต 2541/42
P. 35

26





                  เมื่อศึกษาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมดแลวปรากฏวาเกษตรกรจะมีผลตอบแทนเหนือตนทุน

                  ผันแปรเฉลี่ยไรละ 127.47 บาทและผลตอบแทนจากการลงทุนขาดทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 459.09 บาท
                  ทั้งนี้จากการมีตนทุนในการผลิตที่สูงและราคาผลผลิตตกต่ําและเปนชวงอายุที่ใหผลผลิตในปริมาณลดลง

                  จากปจจัยการผลิตตางๆ  มีราคาสูงขึ้นโดยเฉพาะปุยและยาฆาแมลงและวัชพืช  สําหรับปญหาสําคัญของ

                  เกษตรกร  ไดแก  ปญหาผลผลิตราคาต่ํา  ฝนตกชุกทําใหกรีดยางไมไดและน้ํายางจะนอยลง  ตลอดจน

                  ปญหาจากโรคพืชและแมลงรบกวน เปนตน (ตารางที่ 7  22  23 และ 39)
                             ยางพาราอายุ 25  ปขึ้นไป  พันธุRRIM600 (ยางแผน)   เกษตรกรมีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ย

                  ครอบครัวละ 16.88 ไร ไดผลผลิตประมาณไรละ 126.11 กิโลกรัม คิดเปนมูลคาผลผลิตทั้งหมดเฉลี่ยไรละ

                  2,021.54 บาท จากราคาผลผลิตที่ไดเฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.03 บาท ผลผลิตที่ไดทั้งหมดจะขายรอยละ 84.14
                  ที่เหลืออีกรอยละ 15.86  จายเปนคาจางแรงงานในการทํายางพารา  และผลผลิตที่ขายนี้ขายที่บานทั้งหมด

                  โดยขายใหกับพอคาในทองถิ่นเดียวกัน  ตนทุนในการเพาะปลูกทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 1,871.50  บาท  ซึ่ง

                  ประกอบดวยตนทุนผันแปรและตนทุนคงที่ทั้งที่เปนเงินสดและไมเปนเงินสด  ตนทุนผันแปรสวนใหญ
                  ไดแก  คาแรงงานคนเฉลี่ยไรละ 1,202.31  บาท  ซึ่งเปนแรงงานจางที่เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ 499.63  บาท

                  เปนแรงงานของตนเองและคนในครอบครัวเฉลี่ยไรละ 702.68  บาท  ใชในการเก็บน้ํายาง  รองลงมาใช

                  ในการกรีดยาง ทําแผนยาง กําจัดวัชพืชและใสปุย ตามลําดับ คาแรงงานเครื่องจักรเฉลี่ยไรละ 25.93 บาท

                  ใชในการตัดหญา คาวัสดุปจจัยการเกษตร เชน คาปุยเคมีคิดเปนมูลคาเฉลี่ยไรละ 12.44 บาท โดยใชปุยเคมี
                  สูตร 15-15-15 ไรละ 1.48 กิโลกรัม คาแกส คาน้ํากรดสําหรับผสมกับน้ํายางเพื่อทํายางแผน และคาวัสดุ

                  สิ้นเปลืองอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีคาใชจายที่เปนตนทุนผันแปรอื่นอีก ไดแก คาเสียโอกาสเงินลงทุน ดังนั้น

                  จะมีตนทุนผันแปรรวมทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 1,354.71  บาท  ในสวนของตนทุนคงที่ทั้งที่เปนเงินสดและ

                  ไมเปนเงินสดเกษตรกรจะมีตนทุนคงที่รวมทั้งหมดเฉลี่ยไรละ  516.79 บาท โดยสวนใหญจะเปนตนทุนคงที่
                  ที่ไมเปนเงินสด ไดแก คาใชที่ดินเฉลี่ยไรละ 443.86 บาท คาเสื่อมเครื่องมือและอุปกรณการเกษตรเฉลี่ย

                  ไรละ 70.12 บาท สวนตนทุนคงที่ที่เปนเงินสดมีเพียงอยางเดียว  คือ คาภาษีที่ดินเฉลี่ยไรละ 2.81 บาท

                  สําหรับการผลิตยางพาราอายุ 25 ปขึ้นไป ในหนวยที่ดินที่ 26B นี้ เมื่อพิจารณาถึงผลตอบแทนเหนือ
                  ตนทุนที่เปนเงินสดแลวจะพบวาเกษตรกรมีผลตอบแทนเหนือตนทุนที่เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ 1,397.75  บาท

                  แตเมื่อศึกษาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมดแลวปรากฏวาเกษตรกรจะมีผลตอบแทนเหนือ

                  ตนทุนผันแปรเฉลี่ยไรละ 666.83  บาท  และผลตอบแทนจากการลงทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 150.04  บาท
                  เกษตรกรประสบปญหาจากราคาผลผลิตตกต่ํามากที่สุด รองลงมาไดแกปญหาฝนตกชุก ปญหาโรคพืชและแมลง

                  ปญหาปจจัยการผลิตมีราคาสูงและปญหาจากการขาดแคลนแรงงาน เปนตน (ตารางที่ 7  24  25 และ 39)

                             ปาลมน้ํามันอายุ 6-9 ป พันธุTENERA เกษตรกรมีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ยครอบครัวละ 16.09 ไร

                  ไดผลผลิตประมาณไรละ 4,119.18 กิโลกรัม คิดเปนมูลคาผลผลิตทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 9,391.73 บาท จาก
                  ราคาผลผลิตที่ไดเฉลี่ยกิโลกรัมละ 2.28 บาท ผลผลิตที่ไดจะขายทั้งหมด มีทั้งขายที่ผูรับซื้อและขายที่บาน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40