Page 41 - การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตพืชในพื้นที่ ลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนที่ 2 ปีการผลิต 2541/42
P. 41

32





                  ยังจะตองคํานึงถึงการใชปจจัยการผลิตชนิดอื่นอีก  ซึ่งเปนการลงทุนในระยะยาว  เชน  คาที่ดิน  คาเครื่องจักร

                  เครื่องมือและเรื่องของการตลาด  เปนตน  ทําใหทราบถึงในการที่จะเลือกผลิตพืชชนิดใดที่จะใหผลตอบแทน
                  การลงทุนมากที่สุด  และเหมาะสมกับคุณภาพของดินชนิดนั้นๆ  แตทั้งนี้ตองคํานึงถึงความเปนไปไดของ

                  ตลาดที่มีอยูทั้งตลาดภายในและภายนอกประเทศดวย สรุปไดดังนี้


                             การผลิตขาว มี 2 หนวยที่ดิน คือหนวยที่ดินที่ 5 และ 17 ในบริเวณลุมน้ําที่สํารวจในเรื่อง
                  ภาวะการผลิตขาว ซึ่งจะเปนขาวเจานาดําพันธุพื้นเมือง เกษตรกรจะปลูกไวเพื่อบริโภคในครัวเรือนเปน

                  จุดประสงคหลักและจะเก็บไวทําพันธุ ในปการผลิตครั้งตอไป สวนที่เหลือจะขายไปทั้งหมด แตก็มีเพียง

                  จํานวนนอย  การผลิตขาวในบริเวณลุมน้ํานี้จะอาศัยน้ําฝนและทํานาปแตเพียงอยางเดียว  นาที่อยูในเขต
                  ชลประทานจะไมมีเลยเนื่องจากเปนที่ดอน ผลผลิตที่ไดนอยบางครั้งไมพอเพียงตอการบริโภค จากการศึกษา

                  เพื่อการพิจารณาถึงการเพาะปลูกขาวในแตละหนวยที่ดินปรากฏวาหนวยที่ดินที่ 17   จะใหผลผลิตขาว

                  มากที่สุด   โดยเฉลี่ยไรละ 286.13  กิโลกรัม   หนวยที่ดินที่ 5  ใหผลผลิตเฉลี่ยไรละ 195.21  กิโลกรัม
                  ขณะเดียวกันหนวยที่ดินที่ 17 จะมีตนทุนการผลิตไรละ 3,092.73 บาท และในหนวยที่ดินที่ 5 เฉลี่ยไรละ

                  2,682.27  บาท  จะสังเกตไดวาเมื่อการผลิตขาวมีตนทุนตอไรสูงแลวผลผลิตที่ไดตอไรจะสูงดวย  แสดงวา

                  เมื่อใชปจจัยการผลิตไมวาจะเปนแรงงาน  คาวัสดุปจจัยการผลิตและคาใชจายอื่นๆ  ก็ตาม  ผลผลิตที่ได

                  จะตอบสนองในทางเพิ่มมากขึ้นเชนเดียวกัน  เมื่อพิจารณาถึงผลตอบแทนการลงทุนทั้งหมดจากการปลูกขาว
                  พบวาทุกหนวยที่ดินที่ไดรับการสํารวจในเรื่องของการปลูกขาวจะใหผลตอบแทนขาดทุนทั้งหมด  เนื่องมาจาก

                  ดินที่มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา มีการระบายน้ําเลวทําใหตนทุนในการผลิตสูง ผลผลิตที่ได

                  เฉลี่ยตอไรต่ํา  และพันธุที่ใชเปนพันธุพื้นเมืองที่ใหผลผลิตต่ํา  ขาดการดูแลเอาใจใสในเรื่องการใชปุยและ
                  ใชยากําจัดศัตรูพืช จากผลของการสํารวจปรากฏวาหนวยที่ดินที่ 5  จะใหผลตอบแทนขาดทุนมากที่สุดเฉลี่ย

                  ไรละ 730.17 บาท และหนวยที่ดินที่ 17  จะใหผลตอบแทนขาดทุนเฉลี่ยไรละ 669.21 บาท  เกษตรกร

                  สวนใหญมีปญหาในการผลิตขาวที่สําคัญและพบมากใน 2  หนวยที่ดิน  ไดแก  ปญหาศัตรูพืชรบกวน

                  ปญหาปจจัยการผลิตมีราคาสูงและราคาผลผลิตตกต่ํา (ตารางที่ 38 และ 39)

                             การผลิตยาง   การปลูกยางนับวาเปนอาชีพที่สําคัญของเกษตรกรบริเวณลุมน้ําสาขาภาคใต

                  ฝงตะวันตกสวนที่ 2  เปนอาชีพที่ทํารายไดหลักใหแกเกษตรกรเปนอยางมาก  สามารถสงออกจําหนายทั้ง
                  ตลาดภายในประเทศและตลาดภายนอกประเทศ  มีการใชเนื้อที่เพาะปลูกยางพารามากกวาพืชชนิดอื่น

                  จากการสํารวจขอมูลของเกษตรกรในพื้นที่โครงการมีการปลูกยางพาราในหนวยที่ดินที่ 26  26B และ 26C

                  โดยหนวยที่ดินที่ 26C  จะใหผลผลิตยางพารามากที่สุดเฉลี่ยไรละ 162.77  กิโลกรัม  โดยเฉพาะยางพาราอายุ
                  21-25 ป ใหผลผลิตเฉลี่ยไรละ 178.89 กิโลกรัม รองลงมาไดแกยางพาราชวงอายุ 9-13 ป  ในหนวยที่ดิน

                  เดียวกันใหผลผลิตเฉลี่ยไรละ 170.93 กิโลกรัม และในขณะเดียวกันจะใหผลผลิตนอยที่สุด ในหนวยที่ดินที่

                  26B เฉลี่ยไรละ 134.69 กิโลกรัม จากการสํารวจยางพาราอายุ 21-25 ป ในหนวยที่ดินที่ 26B ใหผลผลิต
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46