Page 43 - การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตพืชในพื้นที่ ลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนที่ 2 ปีการผลิต 2541/42
P. 43

34





                  ผลตอบแทนการลงทุนที่สูงกวาปาลมน้ํามันในชวงอายุอื่น  คือมีผลตอบแทนเฉลี่ยไรละ 5,468.37  บาท  และ

                  ใหผลตอบแทนนอยที่สุดไดแกปาลมน้ํามันอายุ 17-21 ป  หนวยที่ดินที่ 26B เฉลี่ยเพียงไรละ 3,256.99 บาท
                  ปญหาในการผลิตปาลมน้ํามันสวนใหญเปนปญหาจากราคาผลผลิตตกต่ํา  ปญหาปจจัยการผลิตมีราคาสูง

                  ปญหาดินเสื่อมโทรมและปญหาศัตรูพืชรบกวน เปนตน (ตารางที่ 38 และ 39)

                             จากผลของการวิเคราะหขอมูลดานการผลิตที่ไดจากการสํารวจและศึกษาตามสภาพ

                  เศรษฐกิจและสังคมโดยทั่วไปของเกษตรกรบริเวณลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันตกสวนที่ 2  แลวพบวา
                  ในหนวยที่ดินตางๆ ที่มีการปลูกพืช  เชน  ขาว  ยางพารา  ปาลมน้ํามัน  จะเห็นไดวาการปลูกปาลมน้ํามันให

                  ผลตอบแทนการลงทุนมากกวาพืชชนิดอื่นๆ  ทุกหนวยที่ดินที่มีการปลูก  ทั้งที่ตนทุนในการทําสวนปาลม

                  สูงกวาพืชชนิดอื่นๆ  สาเหตุที่เปนเชนนี้เพราะวาสภาพภูมิอากาศสิ่งแวดลอมตางๆ  ตลอดจนคุณสมบัติ
                  ของดินมีความเหมาะสมตอการเจริญเติบโตและใหผลผลิตของปาลมน้ํามัน  เกษตรกรขายผลผลิตไดราคาดี

                  เพราะมีตลาดทั้งภายในและภายนอกประเทศ  และตลาดมีความตองการอยางตอเนื่อง  สวนใหญผลผลิตที่ได

                  จะไมพอเพียงตอการบริโภคภายในประเทศ  และยังมีโรงงานรับซื้อเมล็ดปาลมเพื่อนําไปแปรรูปตั้งอยูภายใน
                  ทองที่ ทําใหตลาดของปาลมมีความคลองตัว อุตสาหกรรมปาลมน้ํามันเขามามีบทบาทมากขึ้นแทนพืชตัวอื่น
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48