Page 34 - การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตพืชในพื้นที่ ลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนที่ 2 ปีการผลิต 2541/42
P. 34

25





                  โดยสวนใหญจะเปนตนทุนคงที่ที่ไมเปนเงินสด  ไดแก  คาใชที่ดินเฉลี่ยไรละ 463.14  บาท  คาเสื่อม

                  เครื่องมือและอุปกรณการเกษตรเฉลี่ยไรละ 89.28  บาท   สวนตนทุนคงที่ที่เปนเงินสดมีเพียงอยางเดียว
                  คือคาภาษีที่ดินเฉลี่ยไรละ 3.16 บาท สําหรับการผลิตยางพาราอายุ 14-20  ป  ในหนวยที่ดินที่ 26B นี้

                  เมื่อพิจารณาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนที่เปนเงินสดแลวจะพบวาเกษตรกรมีผลตอบแทนเหนือตนทุนที่เปน

                  เงินสดเฉลี่ยไรละ 1,298.86  บาท  แตเมื่อศึกษาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมดแลว  ปรากฏวา

                  เกษตรกรจะมีผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ยไรละ 559.67  บาท   และผลตอบแทนจากการลงทุน
                  ทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 4.09  บาท   ปญหาที่พบมากที่สุดไดแก  ปญหาราคาผลผลิตตกต่ํารอยละ 94.12

                  ของเกษตรกรทั้งหมด  รองลงมาฝนตกชุกรอยละ 70.59  ของเกษตรกรทั้งหมด   ปจจัยการผลิตมีราคาสูง

                  โรคพืชและสัตว เปนตน (ตารางที่ 7  20  21 และ 39)
                             ยางพาราชวงอายุ 21-25 ป พันธุRRIM600 (ยางแผน)   การปลูกยางพาราชวงอายุ 21-25 ป

                  ในหนวยที่ดินที่ 26B  พบวามีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ยครอบครัวละ 12.00  ไร  ไดผลผลิตประมาณไรละ

                  121.07  กิโลกรัม   คิดเปนมูลคาผลผลิตทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 1,940.75  บาท  จากราคาผลผลิตที่ไดเฉลี่ย
                  กิโลกรัมละ 16.03 บาท ผลผลิตที่ไดทั้งหมดจะขายรอยละ 95.87 ที่เหลืออีกรอยละ 4.13 จายเปนคาจาง

                  แรงงานในการทํายางพารา และผลผลิตที่ขายนี้ขายที่ผูรับซื้อ รอยละ 65.63  อีกรอยละ 34.37  ขายที่บาน

                  สวนพอคาที่รับซื้อผลผลิตจะเปนพอคาในทองถิ่นเดียวกันรอยละ 64.04  เปนพอคาในเมืองรอยละ 35.96
                  เกษตรกรที่ปลูกยางพาราอายุ 21-25  ป  ใชตนทุนในการเพาะปลูกทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 2,399.84  บาท  ซึ่ง

                  ประกอบดวยตนทุนผันแปรและตนทุนคงที่ทั้งที่เปนเงินสดและไมเปนเงินสด  ตนทุนผันแปรสวนใหญ

                  เปนคาจางแรงงานคนในการกรีดยาง  ทําแผนยาง  เก็บน้ํายางและการปองกันและกําจัดวัชพืช  เฉลี่ยไรละ

                  1,343.85 บาท ซึ่งเปนแรงงานจางที่เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ 300.12 บาท เปนแรงงานของตนเองและคนใน
                  ครอบครัวเฉลี่ยไรละ 1,043.73 บาท  คาแรงงานเครื่องจักรเฉลี่ยไรละ 57.78 บาท  เปนคาตัดหญา คาวัสดุ

                  ปจจัยการเกษตร เชน คาปุยเคมีคิดเปนมูลคาเฉลี่ยไรละ 177.88 บาท มีการใชปุยเคมี 3 ชนิด ไดแก ปุยสูตร

                  15-15-15 ไรละ 20.00 กิโลกรัม สูตร 14-14-8 ไรละ 1.11 กิโลกรัม และปุยสูตร 16-4-9 ไรละ 1.94 กิโลกรัม

                  คายาปราบวัชพืช  คาแกส คาน้ํากรดสําหรับผสมกับน้ํายางเพื่อทํายางแผน คายาทาหนายางเพื่อกันเชื้อรา
                  และคาวัสดุสิ้นเปลืองอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีคาใชจายที่เปนตนทุนผันแปรอื่นๆ ไดแก คาซอมแซมอุปกรณ

                  การเกษตร คาขนสงผลผลิต คาเสียโอกาสเงินลงทุน และคาดอกเบี้ยเงินกูระยะสั้น ดังนั้นจะมีตนทุน

                  ผันแปรรวมทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 1,813.28  บาท  ในสวนของตนทุนคงที่ทั้งที่เปนเงินสดและไมเปนเงินสด
                  เกษตรกรจะมีตนทุนคงที่รวมทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 586.56  บาท  โดยสวนใหญจะเปนตนทุนคงที่ที่ไมเปน

                  เงินสด  ไดแก  คาใชที่ดินเฉลี่ยไรละ 470.77  บาท  คาเสื่อมเครื่องมือและอุปกรณการเกษตรเฉลี่ยไรละ

                  112.67  บาท   สวนตนทุนคงที่ที่เปนเงินสดมีเพียงอยางเดียว   คือ   คาภาษีที่ดินเฉลี่ยไรละ 3.12  บาท
                  สําหรับการผลิตยางพาราอายุ 21-25 ป ในหนวยที่ดินที่ 26B นี้ เมื่อพิจารณาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนที่

                  เปนเงินสดแลวจะพบวาเกษตรกรมีผลตอบแทนเหนือตนทุนที่เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ 1,204.15  บาท  แต
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39