Page 42 - การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตพืชในพื้นที่ ลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนที่ 2 ปีการผลิต 2541/42
P. 42

33





                  เฉลี่ยไรละ 121.07 กิโลกรัม เมื่อพิจารณาถึงผลตอบแทนการลงทุนการผลิตยางในหนวยที่ดินที่มีการปลูก

                  ยางพาราปรากฏวาหนวยที่ดินที่ 26C  จะใหผลตอบแทนการลงทุนมากกวาหนวยที่ดินอื่น  เฉลี่ยไรละ
                  321.11 บาท   โดยที่ยางพาราอายุ 9-13 ป  ใหผลตอบแทนการลงทุนมากที่สุดเฉลี่ยไรละ 401.91 บาท

                  รองลงมาไดแก  หนวยที่ดินที่ 26C ยางพาราอายุ 21-25 ป  เฉลี่ยไรละ 233.95 บาท  จะสังเกตไดวาในชวงอายุ

                  ดังกลาวของการปลูกยางพาราในหนวยที่ดินที่  26B     เมื่อผลผลิตที่ไดตอไรสูงก็จะใหผลตอบแทน

                  การลงทุนสูงตามไปดวยเปนสัดสวนเดียวกัน   ในขณะเดียวกันในหนวยที่ดินที่ 26B  จะใหผลตอบแทน
                  การลงทุนต่ําที่สุดเฉลี่ยไรละ 134.69 บาท โดยเฉพาะยางพาราอายุ 21-25 ป ที่ใหผลตอบแทนการลงทุนที่ต่ํา

                  เนื่องจากผลผลิตที่ไดตอไรต่ํามากเพราะเปนยางอายุมากใกลโคนเพื่อปลูกใหม  ผลผลิตที่ไดจะต่ําลงตลอด

                  และจะใหผลตอบแทนการลงทุนที่นอยที่สุดจากหนวยที่ดินทั้งหมดที่มีการปลูกยางพารา  คือมีผลตอบแทน
                  การลงทุนขาดทุนไรละ 459.09 บาท ทั้งนี้เนื่องมาจากมีตนทุนในการผลิตที่สูงโดยเฉพาะคาแรงงานทั้งที่

                  เปนแรงงานจางและแรงงานของตนเองและมีอัตราการใชปุยเคมีตอไรนอยกวาหนวยดินอื่นๆ  และคุณสมบัติ

                  ของดินเหลานี้เปนดินคอนขางตื้นมีกรวดหินมาก  เนื้อดินไมเหมาะสมเปนดินเหนียวปนทราย  และสภาพ
                  พื้นที่มีความสูงชัน  การระบายน้ําคอนขางเลว  สวนปญหาจากการผลิตยางพาราของเกษตรกรในแตละ

                  หนวยที่ดินไมมีความแตกตางกันมากนัก  ปญหาที่สําคัญและพบมากที่สุดไดแก  ปญหาจากราคาผลผลิตที่ตกต่ํา

                  ปญหาโรคพืช ฝนตกชุกและปญหาจากปจจัยการผลิตมีราคาสูง เปนตน (ตารางที่ 38 และ 39)
                             การผลิตปาลมน้ํามัน  อาชีพการปลูกปาลมน้ํามันในบริเวณลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันตก

                  สวนที่ 2 ซึ่งประกอบดวยทองที่ในจังหวัดสุราษฎรธานี กระบี่และพังงา โดยเฉพาะในจังหวัดกระบี่ มีการ

                  เพาะปลูกปาลมเปนอาชีพที่สําคัญที่สุดมีการตื่นตัวและขยายพื้นที่การเพาะปลูกอยูตลอตเวลา  เพราะอากาศ

                  และคุณสมบัติของดินอยูในเขตที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโต และใหผลผลิตอยูในเกณฑสูงใกลเคียงกับ
                  ผลผลิตปาลมน้ํามันในประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย  สวนใหญการทําสวนปาลมน้ํามันอยูในรูปของธุรกิจ

                  ขนาดใหญ  มีการลงทุนในการใชปจจัยการผลิตอยางมีประสิทธิภาพ  การลงทุนทําสวนปาลมน้ํามันมีการ

                  ขยายตัวอยางสม่ําเสมอ   เนื่องจากใหผลตอบแทนการลงทุนที่สูงกวาพืชชนิด  นอกจากนี้ในพื้นที่ยังมี

                  โรงงานอุตสาหกรรมสกัดน้ํามันปาลมอยูหลายโรงงาน   เพื่อรับซื้อผลิตภัณฑปาลมไวแปรรูปจําหนาย
                  น้ํามันปาลมที่ไดเพื่อใชเปนปจจัยในการผลิตสินคาตางๆ  จากการสํารวจในหนวยที่ดินที่มีการปลูกปาลมน้ํามัน

                  ในพื้นที่ลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันตกสวนที่ 2 ปรากฏวามีอยู 2 หนวยที่ดินไดแก หนวยที่ดินที่ 26 กับ

                  หนวยที่ดินที่ 26B โดยหนวยที่ดินที่ 26 มีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ยครอบครัวละ 22.00 ไร ใหผลผลิตมากกวา
                  เฉลี่ยไรละ 4,090.91 กิโลกรัม หนวยที่ดินที่ 26B  มีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ยครอบครัวละ 17.48 ไร ใหผลผลิต

                  เฉลี่ยเพียงไรละ 3,944.25 กิโลกรัม โดยเฉพาะปาลมน้ํามันอายุ 10-16 ป ในหนวยที่ดินที่ 26B ใหผลผลิต

                  นอยที่สุดเฉลี่ยไรละ 3,834.20  กิโลกรัม  เมื่อพิจารณาถึงผลตอบแทนการลงทุนปรากฏวา  ปาลมน้ํามัน
                  ในหนวยที่ดินที่ 26 จะใหผลตอบแทนการลงทุนเฉลี่ยไรละ 6,090.19 บาท มากกวาหนวยที่ดินที่ 26B  ซึ่งมี

                  ผลตอบแทนการลงทุนเฉลี่ยไรละ 5,005.86 บาท  และในหนวยที่ดินที่ 26B  ปาลมน้ํามันอายุ 10-16 ป จะให
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47