Page 40 - การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตพืชในพื้นที่ ลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนที่ 2 ปีการผลิต 2541/42
P. 40

31





                  ลงทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 186.35 บาท เกษตรกรมีปญหาในการผลิตยางพารา ไดแกปญหาราคาผลผลิตตกต่ํา

                  ฝนตกชุก โรคพืชและสัตว ตลอดจนปญหาปจจัยการผลิตมีราคาสูง (ตารางที่ 7  34  35 และ 39)
                             ยางพาราอายุ 21-25  ป  พันธุRRIM600 (ยางแผน)    เกษตรกรมีเนื้อที่เพาะปลูกเฉลี่ย

                  ครอบครัวละ 10.80 ไร ไดผลผลิตประมาณไรละ 178.89 กิโลกรัม คิดเปนมูลคาผลผลิตทั้งหมดเฉลี่ยไรละ

                  2,946.32 บาท จากราคาผลผลิตที่ไดเฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.47 บาท ผลผลิตที่ไดจะขายรอยละ 85.40 และ

                  จายเปนคาจางแรงงานในการทํายางพารารอยละ 14.60 ในสวนของผลผลิตที่ขายรอยละ 74.22 ขายที่ผูรับซื้อ
                  อีกรอยละ 11.18 ขายที่บาน พอคาที่รับซื้อผลผลิตสวนมากเปนพอคาในทองถิ่น รองลงมาเปนพอคาในเมือง

                  คิดเปนรอยละ 60.56 และ 24.84 ตามลําดับ  เกษตรกรที่ปลูกยางพาราอายุ 21-25 ปนี้ ใชตนทุนในการ

                  เพาะปลูกทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 2,712.37  บาท  ซึ่งประกอบดวยตนทุนผันแปรและตนทุนคงที่ทั้งที่เปนเงินสด
                  และไมเปนเงินสด  สวนที่เปนตนทุนผันแปรทั้งหมด  ไดแก  คาแรงงานคนเฉลี่ยไรละ 1,688.79  บาท

                  ซึ่งเปนแรงงานจางที่เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ 527.55 บาท เปนแรงงานของตนเองและคนในครอบครัวเฉลี่ย

                  ไรละ 1,161.24 บาท คาจางแรงงานคนสวนใหญใชในการกรีดยาง รองลงมาไดแกเก็บน้ํายาง ทําแผนยาง
                  กําจัดวัชพืช ใสปุยและฉีดยาปราบวัชพืช ตามลําดับ คาวัสดุปจจัยการเกษตร เชน คาปุยเคมีคิดเปนมูลคา

                  เฉลี่ยไรละ 243.52 บาท โดยใชปุยเคมีสูตร 15-15-15 เพียงชนิดเดียว ไรละ 26.85 กิโลกรัม คายาปราบวัชพืช

                  คิดเปนมูลคาเฉลี่ยไรละ 14.81 บาท คาแกส คาน้ํากรดสําหรับผสมกับน้ํายางเพื่อทํายางแผน คาน้ํามันเชื้อเพลิง

                  และหลอลื่น และคาวัสดุสิ้นเปลืองอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีคาใชจายที่เปนตนทุนผันแปรอื่นๆ ไดแก คาขนสง
                  ผลผลิต  และคาเสียโอกาสเงินลงทุน   ดังนั้นจะมีตนทุนผันแปรรวมทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 2,164.51  บาท

                  ในสวนของตนทุนคงที่ทั้งที่เปนเงินสดและไมเปนเงินสดเกษตรกรจะมีตนทุนคงที่รวมทั้งหมดเฉลี่ยไรละ

                  547.86 บาทโดยสวนใหญจะเปนตนทุนคงที่ ที่ไมเปนเงินสด  ไดแก คาใชที่ดินเฉลี่ยไรละ 444.22 บาท

                  คาเสื่อมเครื่องมือและอุปกรณการเกษตรเฉลี่ยไรละ 101.25  บาท  สวนตนทุนคงที่ที่เปนเงินสดมีคาภาษีที่ดิน
                  เพียงอยางเดียวเฉลี่ยไรละ 2.39 บาท สําหรับการผลิตยางพาราชวงอายุ 21-25 ป ในหนวยที่ดินที่ 26C นี้

                  เมื่อพิจารณาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนที่เปนเงินสดแลวจะพบวาเกษตรกรมีผลตอบแทนเหนือตนทุน

                  ที่เปนเงินสดเฉลี่ยไรละ 1,999.44  บาท  แตเมื่อศึกษาถึงผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมดแลว
                  ปรากฏวาเกษตรกรจะมีผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรเฉลี่ยไรละ 781.81  บาทและจะไดรับผลตอบแทน

                  จากการลงทุนทั้งหมดเฉลี่ยไรละ 233.95 บาท ปญหาในการผลิตที่สําคัญ ไดแก ปญหาราคาผลผลิตตกต่ํา

                  รองลงมาไดแก ปจจัยการผลิตราคาสูง  โรคพืชและแมลง  ตลอดจนสภาพดินเสื่อมโทรม  ตามลําดับ
                  (ตารางที่ 7  36  37 และ 39)


                             การวิเคราะหเชิงเศรษฐกิจของพืชชนิดตางๆ   ในแตละหนวยที่ดิน   ผลตอบแทนการลงทุน

                  จะเปนการวัดประสิทธิภาพการใชที่ดินในการผลิตพืช  เปนการแสดงใหเห็นถึงความแตกตางระหวางผลได
                  กับตนทุนทั้งหมดที่เกษตรกรลงทุนไปเพื่อชวยใหเกษตรกรตัดสินใจในการเลือกลงทุนในระยะยาวทั้งนี้

                  เพราะนอกจากจะคํานึงถึงตนทุนที่เปนเงินสด  ตนทุนผันแปรที่เปนคาใชจายในการผลิตพืชโดยตรงแลว
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45