Page 64 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 64

2-48








               ตารางที่  2-18  เปรียบเทียบปริมาณโปรตีนและราคาระหวางถั่วและเนื้อสัตวตางๆ


                                ชนิด                       โปรตีน (%)         ราคา (บาท/กิโลกรัม)

                  ถั่วเหลือง                               34 – 44                 15 – 20
                  ถั่วเขียว                                  23.4                  24 – 25

                  ถั่วลิสง                                   29.7                  38 – 40

                  เนื้อหมู (เนื้อแดง)                        19.6                  85 – 95

                  เนื้อไก                                   22.0                  50 – 60
                  ปลาชอน                                    20.5                  50 – 60

                  ปลาทู                                      20.0                   55 - 60




               ที่มา  : ศรีสมวงศ  และ  เพ็ญแข


                         1) การใชประโยชนทางดานสุขภาพ

                            ถั่วเหลือง เปนพืชชนิดหนึ่งที่พบเลซิตินคอนขางสูงโดยทั่วไป เลซิติน  สามารถพบ

               ไดในทุกเซลลของรางกายมนุษย สัตว และพืชผักตางๆ สําหรับในเซลลมนุษยนั้นจะพบเลซิตินมาก
               ในสมอง ตับ ไต และกระดูกออน ดังนั้นหากสามารถรับประทานอาหารจากถั่วเหลืองเพียงวันละ

               100 กรัม รางกายจะไดเลซิตินเกินพอตองการ

                         2) การใชประโยชนทางอาหาร
                            การใชประโยชนจากเมล็ดถั่วเหลืองในรูปอาหารและผลิตภัณฑตางๆ มีรายละเอียดดังนี้

                            2.1) น้ํามันถั่วเหลือง

                                น้ํามันเปนองคประกอบที่สําคัญอยางหนึ่งของถั่วเหลืองปกติจะมีอยูประมาณ
               รอยละ 18-20 ใชประโยชนในการปรุงอาหาร ทําเนยเทียม มายองเนส น้ํามันสลัด และใชทําอัลติดเรซิน

               สําหรับอุตสาหกรรมการทําสีตางๆ  เปนน้ํามันที่มีคุณภาพสูง มีกรดไขมันที่ไมอิ่มตัวรอยละ 80-85

               ของปริมาณน้ํามันทั้งหมด โดยเฉพาะกรดลิโนเลอิด (linoleic) ซึ่งเปนกรดไขมันที่จําเปนตอรางกาย

               แตรางกายไมสามารถสังเคราะหไดมีในปริมาณสูงถึงรอยละ 55-61 เมื่อเทียบกับน้ํามันหมูแลว
               น้ํามันถั่วเหลืองมีความปลอดภัยในการบริโภคมากกวา  ทั้งนี้เพราะน้ํามันหมูมีกรดไขมันอิ่มตัว

               (Saturated fatty acid) รอยละ 24-42  สูงกวาในน้ํามันถั่วเหลืองที่มีเพียงรอยละ 13-15  ตัวอยาง

               กรดไขมันอิ่มตัว เชน palmistic acid  และ stearic acid มีคุณสมบัติในการสลายตัวยาก ผูบริโภค





               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69