Page 69 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 69

3-2








                        ความตองการดานการจัดการ เปนความตองการของเกษตรกร ดานเครื่องจักรกล สารเคมี
               แรงงาน และเทคโนโลยี เงินทุน ซึ่งมีดังนี้


                        ความตองการดานการจัดการ (Management requirements)
                        คุณภาพที่ดิน (Land qualities)       ปจจัยที่ใชชี้วัด (Diagnostic factors)

                        10. สภาวะการเขตกรรม (k)             ชั้นความยากงายในการเขตกรรม

                        11. ศักยภาพการใชเครื่องจักรกล (w)   ความลาดชันของพื้นที่    ปริมาณหินโผล
                                                            ปริมาณกอนหิน และการมีเนื้อดินเหนียวจัด


                        ความตองการดานการอนุรักษ  เปนความตองการเพื่อใหสามารถใชที่ดินไดตลอดไป

               โดยไมทําลายดินหรือสิ่งแวดลอมอื่นๆ ความตองการดานนี้จะเพิ่มมาตรการอนุรักษดินและน้ํา
               ที่จําเปนและ เหมาะสมสําหรับพื้นที่นั้นๆ


                        ความตองการดานการอนุรักษ (Conservation requirements)
                        คุณภาพที่ดิน (Land qualities)              ปจจัยที่ใชชี้วัด (Diagnostic factors)

                        12. ความเสียหายจากการกัดกรอน ( e )        ความลาดชันของพื้นที่


                        จากการศึกษาเปรียบเทียบลักษณะตางๆ ของถั่วเหลืองฤดูแลงบางพันธุจะมีระดับความ
               ตองการปจจัยในการเจริญเติบโตตางกันทางดานลักษณะเชิงพื้นที่ เชน ที่ลุมต่ําและน้ําขัง เปนตน

                          และจากหลักการของ FAO Framework ไดจําแนกอันดับความเหมาะสมของที่ดินเปน 2

               อันดับ (Order) คือ
                          1) อันดับที่เหมาะสม (Order S ; Suitability)

                          2) อันดับที่ไมเหมาะสม (Order N ; Not suitability)

               และจาก 2 อันดับที่ได แบงยอยออกเปน 4 ชั้น (Class) ดังนี้
                          S1 :   ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable)

                          S2 :   ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable)

                          S3 :   ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (Marginally suitable)

                          N  :   ชั้นที่ไมมีความเหมาะสม (Not suitable)
                       จากการศึกษาปจจัยตางๆ ที่เปนความตองการของถั่วเหลืองฤดูแลง ไดจัดทําตารางแสดง

               ระดับความตองการปจจัยตอการเจริญเติบโต ในระดับความเหมาะสมตางๆ ในการใชที่ดินสําหรับ

               ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน  ดังตารางที่ 3-1









               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74