Page 68 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 68

บทที่ 3

                                                    การประเมินคุณภาพที่ดิน



                       3.1  ระดับความตองการปจจัยสําหรับพืช



                                ถั่วเหลืองฤดูแลงจะมีความตองการปจจัยที่เหมาะสมสําหรับการเจริญเติบโตและ
                       สภาพการผลิตที่เหมาะสมสําหรับแตละทองที่โดยเฉพาะการปลูกในที่นาฤดูแลง ความตองการปจจัย

                       ที่เหมาะสมที่คลายคลึงกันหรือ แตกตางกัน เพื่อกําหนดความตองการปจจัยคุณภาพที่ดิน (Land qualities)

                       ของกลุมความตองการ ปจจัยและสิ่งแวดลอม (Land use requirements) ที่จําเปนตอการเจริญเติบโต

                       การใหผลผลิต การจัดการในการปลูกถั่วเหลืองฤดูแลง และการใชที่ดินโดยไมทําลายสิ่งแวดลอม
                       3 ดาน คือ  ความตองการ  ดานพืช (Crop  requirements)  ความตองการดานการจัดการ (Management

                       requirements) และความตองการดานการอนุรักษ (Conservation requirements) สรุปไดดังนี้

                                ความตองการดานพืช เปนความตองการปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโต และการใหผลผลิต

                       ของถั่วเหลืองฤดูแลง ซึ่งมีดังนี้

                                ความตองการดานพืช (Crop requirements)

                                คุณภาพที่ดิน (Land qualities)             ปจจัยที่ใชชี้วัด (Diagnostic factors)

                                1. อุณหภูมิ (t)                           อุณหภูมิเฉลี่ยในชวงเพาะปลูก
                                2. ความชื้นที่เปนประโยชนตอพืช (m)      ความตองการน้ําในชวงการเจริญเติบโต

                                3. ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช (o) ชั้นการระบายน้ําของดิน

                                4. ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s)       ความอุดมสมบูรณของดิน

                                5. ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n)         ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกและ
                                                                          ความอิ่มตัวดวยประจุบวกที่เปนดาง

                                6. สภาวะการหยั่งลึกของรากพืช (r)          ความลึกของดิน และการหยั่งลึก

                                                                          ของราก
                                7. ความเสียหายจากน้ําทวม (f)             จํานวนครั้งที่น้ําทวมในชวงรอบปที่

                                                                          กําหนดไว

                                8. การมีเกลือมากเกินไป (X)                คาการนําไฟฟาของดิน

                                9. สารพิษ (Z)                             ระดับความลึกของจารโรไซตและ
                                                                          ปฏิกิริยาดิน
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73