Page 65 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 65

2-49








                       น้ํามันหมูจึงเสี่ยงตอการมีไขมันในเสนเลือดสูงกวาการบริโภคน้ํามันถั่วเหลือง   นอกจากนี้ปริมาณ
                       กรดไขมันลิโนเลอิคในน้ํามันหมูยังมีนอยกวาอีกดวย

                                        น้ํามันที่มีขายอยูตามทองตลาดสวนมากเปนสวนผสมของน้ํามันพืชหลายชนิด

                       แตละบริษัทมีคุณภาพแตกตางกัน จากการศึกษาของเกษตรเคมีในน้ํามันพืช 10 บริษัท ปรากฏวามี
                       องคประกอบของกรดไขมันตางๆ กัน โดยเฉพาะกรดลิโนเลอิค มีปริมาณตั้งแตรอยละ 1-59

                       อนึ่ง สําหรับพันธุถั่วเหลืองที่ตางกันรวมทั้งแหลงปลูกมีผลทําใหเปอรเซ็นตน้ํามันและ

                       องคประกอบของกรดไขมันแตกตางกันไดบางเล็กนอย (ตารางที่ 2-19)


                       ตารางที่  2-19  ปริมาณน้ํามันในเมล็ดถั่วเหลืองรายพันธุและแหลงที่ปลูก


                                     แหลงปลูก                        พันธุ              น้ํามัน (%)

                         1.  เชียงใหม                               สจ.2                   24.81

                                                                     สจ.4                   21.00
                         2.  สระบุรี                                 สจ.2                   23.30

                                                                     สจ.4                   20.56

                         3.  สกลนคร                                  สจ.2                   23.56

                                                                     สจ.4                   21.64


                       ที่มา : ประเทืองศรี และ วิมลศรี



                                   2.2) กากถั่วเหลือง
                                        กากถั่วเหลืองเปนผลพลอยไดจากการสกัดน้ํามันถั่วเหลือง 100  กิโลกรัม เมื่อสกัด

                       น้ํามันถั่วเหลืองประมาณ 78 กิโลกรัม กากถั่วเหลืองนี้เองที่ทําใหโรงงานสกัดน้ํามันถั่วเหลือง

                       ไดรายไดดีมากกวาน้ํามันถั่วเหลือง  ในประเทศไทยใชกากถั่วเหลืองในอุตสาหกรรมอาหารสัตว

                       ปจจุบันโรงงานสกัดน้ํามันถั่วเหลืองผลิตกากถั่วเหลืองไดเพียงรอยละ 80 ของกากถั่วเหลืองที่ใช
                       ในประเทศ ดังนั้น สวนที่ไมเพียงพอรอยละ 20  ไดจากการสั่งเขามาจากตางประเทศ  กากถั่วเหลือง

                       เปนอาหารมนุษย  โดยนํามาดัดแปลงเปนเนื้อเทียม  ซึ่งมีปริมาณโปรตีนสูงถึงรอยละ 60  ใชแทน

                       เนื้อสัตวไดทุกชนิด  และนําไปประกอบอาหารชนิดตางๆ  ได  ทําใหมีคุณคาของโปรตีนสูงกวา

                       เนื้อสัตวธรรมดา






                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70