Page 233 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 233

ผ-10








                        - ครั้งที่ 2 เมื่อถั่วเหลืองฝกสดอายุ 7-10 วัน ครั้งตอๆไป จะใหน้ําโดยพิจารณาจากความ
               ชุมชื้นของดินในแปลงปลูก

                        - ใหน้ําหลังจากใสปุยเคมีทุกครั้ง

                        - โดยปกติจะใหน้ํา 1-2 ครั้งตอสัปดาห จนกระทั่งฝกแตงสมบูรณดี
                        อนึ่ง  การใหน้ําปลอยตามรองจะใหน้ําเพียง 3  ใน 4  ของความสูงของแปลงปลูกขังไว

               ประมาณครึ่งวัน แลวระบายน้ําออก ความชื้นจะคอยๆ ซึมขึ้นไปถึงหลังแปลงปลูก ไมควรใหน้ําทวม

               หลังแปลงเนื่องจากจะทําใหเนื้อดินอัดแนน

                   1.2.8 การใสปุย

                           สําหรับการปลูกถั่วเหลืองฝกสดเพื่อบริโภคภายในประเทศควรใสปุยเคมี 2 ครั้ง ดังนี้ :

                           - ครั้งที่ 1  รองกนหลุมดวยปุยเคมีสูตร 15-15-15  อัตราประมาณ 30  กิโลกรัมตอไร
               หลังจากเตรียมดินเพาะปลูกเรียบรอยแลว กอนปลูกหรือหยอดเมล็ดถั่วใหใสปุยเคมีสูตร 15-15-15

               ประมาณ 1 ชอนโตะรองกนหลุมกอนปลูก

                           - ครั้งที่ 2  เมื่อตนถั่วเหลืองอายุประมาณ 45-50  วัน ซึ่งเปนระยะที่กําลังสรางเมล็ด

               ควรใสปุยสูตร 46-0-0 (ปุยยูเรีย) เพื่อชวยใหถั่วเหลืองมีฝกที่สมบูรณสีเขียวสดใส โดยโรยขางแถวปลูก
               แลวพรวนดินกลบ


                   1.2.9 ศัตรูถั่วเหลืองฝกสดและการปองกันกําจัด

                        1) โรค ถั่วเหลืองฝกสดมีโรคระบาดที่สําคัญที่ควรระวัง คือ

                               (1) โรคใบจุดนูน เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ระบาดในชวยอากาศคอนขางรอนและ
               มีฝนตก อาการระยะแรกเปนแปลจุดสีเขียวแกมเหลืองที่ใตใบตอมาขยายโตขึ้นเปนสีน้ําตาล และ

               มีวงแหวนสีเหลืองลอมรอยแผล ใบถั่วเหลืองจะแสดงอาการใบรวงหลังการไดรับเชื้อเพียง 7  วัน

               ปองกันโดยฉีดพนสารคอปเปอรออกซี่คลอไรด อัตรา 40 กรัม ตอน้ํา 20 ลิตร พน 2-3 ครั้งทุก 7 วัน

               ครั้งแรกในระยะฝกออน (ขอควรระวังไมควรพนสารเคมีนี้ในขณะแสงแดดจัด เพราะจะทําใหใบไหม)
                               (2) โรคแอนแทรคโนส เกิดจากเชื้อรา ซึ่งพบในชวงถั่วเหลืองเริ่มติดฝกออน

               จะพบเปนจุดสีดําเล็กๆ กระจายอยูตามใบและฝก ปองกันโดยฉีดพนสารเบโนมิล อัตรา 30 กรัมตอน้ํา

               20 ลิตร พน 2 ครั้ง ในระยะดอกบานและระยะฝกออน

                               (3) โรคราสนิม เกิดจากเชื้อรา เปนแผลจุดสีน้ําตาลขนาดเล็กดานใตใบ
               ในระยะแรกพบในใบลาง  ระยะตอมาระบาดสูใบบน สังเกตเห็นสเปอรของเชื้อราเปนผงสีน้ําตาล

               คลายสนิมเหล็กบริเวณรอยแผล ถาระบาดรุนแรงจะพบโรคบนสวนลําตนและกานใบทําใหใบไหม

               และรวงกอนกําหนด





               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238