Page 238 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 238

ผ-15








                                  2) ถาใสปุย 16-20-0  หรือ 20-20-0  ในอัตราไรละประมาณ 25-30  กิโลกรัม  ในการ
                       ปลูกขาวจะทําใหปุยฟอสฟอรัสตกคางสะสมอยูในดินขามปได ดังนั้น ถาใสปุยดังกลาวในนาขาว

                       ทุกปแลว ไมจําเปนตองใสปุยใด ๆ ใหกับถั่วเหลืองที่ปลูกหลังเก็บเกี่ยวขาว หรืออาจใสปุย 0-45-0

                       หรือ 0-46-0  เพียงไรละ 5-10  กิโลกรัม ในพื้นที่ซึ่งมีการใสปุยนาในนาขาวเปนบางป ดังนั้น
                       การปลูกถั่วเหลืองโดยคลุกไรโซเบียมจะทําใหไดผลผลิตเพิ่มขึ้นอีกมาก

                                  3) ถาไมไดใสปุยในการปลูกขาว จําเปนจะตองเพิ่มธาตุฟอสฟอรัสกับถั่วเหลือง

                       โดยตรง โดยใชปุยทริปเปลซูเปอรฟอสเฟต (0-45-0  หรือ 0-46-0)  อัตราไรละ 20  กิโลกรัม
                       จะทําใหดินไดธาตุฟอสฟอรัสเพียงพอตอความตองการของถั่วเหลือง โดยมีวิธีการใสดังนี้

                                       3.1) หวานปุยใหทั่วแปลงอยางสม่ําเสมอหลังจากปลูกเสร็จ ใชพุมไม กวาดบนพื้น

                       จะชวยใหปุยสวนใหญถูกกวาดลงไปรวมกันในหลุม พรอมกับขี้เถาในกรณีที่มีการเผาฟาง หรืออาจ
                       หวานปุยหลังจากใหน้ําครั้งแรกก็ได วิธีนี้จะชวยประหยัดแรงงานและใหผลดีพอสมควร

                                       3.2)กลบหลุมปลูก วิธีนี้จะใชแรงงานมากกวาวิธีแรกแตไดผลคอนขางสูง

                       เพราะปุยจะใหประโยชนตอถั่วเหลืองไดเต็มประสิทธิภาพ โดยใชปุย 0-45-0 หรือ 0-46-0 ประมาณ

                       10  กิโลกรัม  ผสมกับปุยคอก (มูลวัวหรือมูลหมูเกา)  ประมาณ 30-35  ปบ หรือถาสามารถหากาก
                       ตะกอนหมอกรองจากโรงงานน้ําตาลไดจะดีที่สุดสําหรับดินที่เปนกรด โดยใชในอัตรา 30-35  ปบ

                       เชนเดียวกันหลังจากผสมเคลาปุยคอกกับปุยเคมีแลวนําไปกลบหลุมที่หยอดเมล็ดถั่วเหลืองแลว

                       หลุมละประมาณ 1 กํามือ จะใชไดในพื้นที่ประมาณ 1 ไร วิธีการนี้ปุยคอกนอกจากจะทําใหบริเวณ

                       หลุมถั่วรวนซุย และใหปุยเพิ่มขึ้นแลวยังชวยใหปุยฟอสฟอรัสที่ผสมลงไปเปนประโยชนตอ
                       ถั่วเหลืองมากขึ้น และถาเปนกากตะกอนหมอกรองโรงงานน้ําตาลจะชวยใหระดับความเปนกรดของดิน

                       ลดนอยลง และจะชวยใหผลผลิตถั่วเหลืองเพิ่มขึ้นไรละประมาณ 30-60 กิโลกรัม

                           1.3.9 การใหน้ํา
                                  การปลูกถั่วเหลืองในฤดูแลงหลังการทํานา ตองมีการใหน้ําอยางเพียงพอ ครั้งแรกให

                       กอนปลูกและตอไปใหประมาณ 10  วันตอครั้ง แตถามีการคลุมฟางหลังจากปลูกถั่วเหลือง อาจใหน้ํา

                       15-20 วันตอครั้งดังนี้
                                    1) ปลอยน้ําไปตามรองน้ํา โดยจะตองดูใหน้ําซึมเขาแปลงใหผิวดินมีความชื้นอยาง

                       สม่ําเสมอและทั่วถึงทั้งแปลง ซึ่งเปนวิธีดีที่สุดเพราะน้ําจะไหลไปตลอดรองไดรวดเร็ว ทั้งนี้ขึ้นอยู

                       กับความยาวของรองและความลาดเทของแปลง น้ําจะซึมเขารองปลูกไดอยางสม่ําเสมอ
                                    2) ปลอยน้ําใหทั่วแปลง แลวระบายออกใหเหลือเฉพาะน้ําที่ขังในรองระบายน้ําเทานั้น









                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243