Page 232 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 232

ผ-9








                            1.2.5 การเตรียมเมล็ดพันธุ
                                  กอนปลูกควรคลุกเมล็ดพันธุถั่วเหลืองฝกสดดวยสารปองกันเชื้อราและเชื้อไรโซเบียม

                       โดยมีขั้นตอนและวิธีดําเนินการดังนี้  :

                                  1)  เตรียมน้ําเชื่อมเจือจางโดยใชน้ําตาลทราย ประมาณ 3-5  ชอนแกง ผสมกับน้ําให
                       น้ําตาลละลายไดน้ําเชื่อม ประมาณ 300 มิลลิลิตร (1 กระปองนมขน)

                                  2)  เทน้ําเชื่อมลงคลุกเมล็ดพันธุถั่วเหลืองฝกสดจํานวน 15 กิโลกรัม (1 ถัง) ถาใชเมล็ด

                       นอยกวานี้ ใหลดน้ําเชื่อมลงตามสวน เคลาเบาๆ ใหน้ําเชื่อมเคลือบผิวเมล็ดพันธุถั่วเหลืองฝกสด
                                  3)   เทสารปองกันกําจัดเชื้อรา เชน เมตาแลกซิลในอัตรา 7 กรัม ตอเมล็ดพันธุ 1 กิโลกรัม

                       หรือแมนโคเซปในอัตรา 1-2 กรัมตอเมล็ดพันธุ 1 กิโลกรัม คลุกกับเมล็ดพันธุ

                                  4)  เทผงเชื้อไรโซเบียมลงบนเมล็ดพันธุในอัตราเชื้อโรโซเบียม 1  ถุงตอเมล็ดพันธุ

                       ถั่วเหลืองประมาณ 10-15 กิโลกรัม แลวคลุกเคลาเบาๆ ใหทั่ว แลวผึ่งลมไวประมาณ 15 นาที (ไมควร
                       ตากแดด) แลวนําไปปลูกทันที เมล็ดพันธุที่คลุกเชื้อไรโซเบียมแลวควรปลูกใหหมดภายในวันนั้น


                            1.2.6 การปลูก

                                1) การเพาะปลูกถั่วเหลืองฝกสดที่เหมาะสม ควรมีระยะระหวางแถวประมาณ 50 เซนติเมตร

                       ระยะระหวางหลุมประมาณ  20-25 เซนติเมตร หยอดเมล็ดพันธุหลุมละ 3-4 เมล็ด ซึ่งจะใชเมล็ด

                       พันธุประมาณ 12-15  กิโลกรัมตอไร (ขึ้นอยูกับขนาดของเมล็ด)  หยอดเมล็ดพันธุลึกประมาณ
                       2-3  เซนติเมตร แลวกลบบางๆ  แปลงที่มีความกวาง 80  เซนติเมตร ปลูกได 2  แถว แปลงที่มีความ

                       กวาง 120 เซนติเมตร ปลูกได 3 แถว ระยะปลูกดังกลาวเปนระยะที่เหมาะสมสําหรับการปลูกถั่วเหลือง

                       ฝกสด เมื่อตนถั่วเจริญเติบโตเต็มที่จะสามารถคลุมดินและควบคุมไมใหหญาและวัชพืชเติบโตได
                       ในขณะเดียวกันใบของตนถั่วจะไดรับแสงและใชประโยชนจากแสงแดดไดสูงสุด อัตราสังเคราะห

                       แสงเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ


                                2)  หลังการปลูก ควรฉีดพนดวยสารเคมีปองกันกําจัดวัชพืชทันที หรือกอนถั่วเหลืองฝกสดและ
                       วัชพืชงอก โดยใชสารอะลาคลอร หรือ เมโทลาคลอร อัตรา 120-180  มิลลิลิตร ตอน้ํา 20  ลิตร

                       ในขณะฉีดพน ดินตองมีความชื้น แลวคลุมดวยฟาง (ถามี)  เพื่อรักษาความชื้น ถามีวัชพืชขึ้นมาอีก

                       ในระยะหลัง ควรกําจัดวัชพืชดวยแรงงานคนอีก 1 ครั้ง เมื่อถั่วเหลืองฝกสดอายุประมาณ 20-25 วัน

                           1.2.7 การใหน้ํา

                                - ครั้งที่ 1 การใหน้ําถั่วเหลืองฝกสดครั้งแรก จะใหหลังจากเตรียมแปลงเสร็จแลว กอน

                       การปลูก 1 วัน เพื่อใหแปลงปลูกมีความชุมชื้นเพียงพอตอการงอกของเมล็ด







                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237