Page 237 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 237

ผ-14








                    1.3.6 การคลุกไรโซเบียม
                           การปลูกถั่วเหลืองควรคลุกเชื้อไรโซเบียม (สําหรับใชกับถั่วเหลือง) กอนปลูกทุกครั้ง

               เนื่องจากเชื้อไรโซเบียมเปนแบคทีเรียที่สามารถสรางปมถั่วเหลืองเพื่อดูดขับกาซไนไตรเจนจากอากาศ

               แลวเปลี่ยนเปนสารประกอบไนไตรเจนที่ถั่วเหลืองนําไปใชประโยชนได โดยไมจําเปนตอง
               ใสปุยไนโตรเจน

                           การคลุกเชื้อไรโซเบียมกับเมล็ดถั่วเหลืองควรทําในที่รมและเมื่อคลุกเสร็จเรียบรอยแลว

               ควรปลูกทันที  ขอควรระวังเวลาคลุกเคลาเมล็ดพันธุถั่วเหลืองกับน้ําเชื่อมและเชื้อไรโซเบียม
               อยาคลุกเคลาแรง วิธีที่ดีที่สุด คือ คลุกในกระสอบบรรจุเมล็ดพันธุโดยเทกลับไปมาใหทั่ว

               การคลุกไรโซเบียมโดยวิธีนี้ จะชวยใหเชื้อไรโซเบียมเกาะติดเมล็ดดี สามารถใชกับเครื่องหยอดได

               โดยไมติดเครื่องหยอด และถั่วเหลืองจะไดรับไรโซเบียมที่มีประสิทธิภาพสูงสามารถเขาไปสรางปม

               ที่รากทําใหผลิตปุยไนไตรเจนไดมาก และเปนปุยไนไตรเจนที่วัชพืชไมสามารถแกงแยงไปใชได

                   1.3.7 การปลูก

                        วิธีการปลูกที่ประหยัดเมล็ดพันธุและใหผลผลิตสูง คือ

                             1)ปลูกเปนหลุม ควรใชระยะระหวางหลุม 20-30 เซนติเมตร ระยะแถว 25-30 เซนติเมตร
               โดยปลูกหลุมละ 3-4 ตน (ควรหยอดเมล็ดหลุมละ 3-5 เมล็ด เพื่อจะงอก 3-4 ตน)

                             2) ปลูกโดยโรยเปนแถว โดยใชเครื่องหยอด ซึ่งมีทั้งชนิดที่ใชกับการเตรียมดิน

               โดยการไถพรวนและไมไถพรวน ควรใชระยะระหวางแถวประมาณ 30 เซนติเมตร ใหมีจํานวนตน
               ประมาณ 20 ตน ตอระยะแถวยาวประมาณ 1 เมตร

                           การใชระยะระหวางแถว 30 เซนติเมตร จะสัมพันธกับการใชเครื่องเก็บเกี่ยวถั่วเหลือง

               แบบวางรายอยางมีประสิทธิภาพ
                    1.3.8 การใสปุย

                        เปนการเพิ่มความอุดมสมบูรณใหแกดิน ชวยเพิ่มผลผลิตถั่วเหลืองการใสปุยควรใสอยาง

               ประหยัด แตใหไดผลผลิตเพิ่มขึ้น ทั้งนี้หากไดมีการศึกษาประวัติการใสปุยในนาขาวมากอน หรือ

               เริ่มใสปุยในนาขาวตามระบบ ดังนี้
                           1) ถาใสปุยหินฟอสเฟตในชวงการไถพรวนเตรียมดินในการปลูกขาวไรละ 200-300  กิโลกรัม

               ปุยนี้นอกจากจะเปนประโยชนตอขาวแลวยังมีประโยชนตอถั่วเหลืองในฤดูตอไปได ดังนั้น การปลูก

               ถั่วเหลืองในระบบนี้จึงเพียงแตคลุกไรโซเบียมก็เพียงพอโดยไมตองใสปุยอื่นใด และยังสามารถลด

               การใสปุยฟอสฟอรัสในนาขาวไดโดยไมตองใสอีกอยางนอย 2-3 ป ดังนั้นการทํานาจึงเพียงแตใสปุย
               ไนโตรเจนในอัตราที่เหมาะสมเทานั้นก็เพียงพอ การใสปุยหินฟอสเฟตบดนี้เหมาะสมมากสําหรับ

               ดินที่คอนขางเปนกรด (พีเอส ไมเกิน 6.5) เทานั้น




               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242